ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิสราเอล
ฉายาהכחולים-לבנים (น้ำเงินขาว)
הנבחרת (ทีมผู้ถูกเลือก)
ดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลอิสราเอล (IFA)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป; ค.ศ. 1980–81; 1991–ปัจจุบัน)
โอเอฟซี (โอเชียเนีย; 1985–89)
เอเอฟซี (เอเชีย; 1954–74)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอัลลอน ฮาซาน
กัปตันBibras Natcho
ติดทีมชาติสูงสุดยอสซี เบนายูน (101)[a]
ทำประตูสูงสุดเอรัน ซาฮาวี (33)
รหัสฟีฟ่าISR
[[ชุดกีฬาฟุตบอล|สีGK]]
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 78 ลดลง 3 (4 เมษายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด15 (พฤศจิกายน 2008)
อันดับต่ำสุด99 (มกราคม 2018)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 5–0 อาณัติปาเลสไตน์ของอังกฤษ/เอเรตซ์ อิสราเอล ธงชาติอิสราเอล
(ไคโร ประเทศอียิปต์; 4 เมษายน ค.ศ. 1930)

ในฐานะประเทศอิสราเอล:
 ทีมโอลิมปิกสหรัฐ 3–1 อิสราเอล ธงชาติอิสราเอล
(นครนิวยอร์ก สหรัฐ; 26 กันยายน ค.ศ. 1948)
ชนะสูงสุด
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล 9–0 จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป
(เวลลิงตัน ประเทศนิวซีแลนด์; 23 มีนาคม ค.ศ. 1988)
แพ้สูงสุด
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 6–0 อิสราเอล ธงชาติอิสราเอล
(เบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวีย; 21 สิงหาคม ค.ศ. 1949)

ธงชาติอิตาลี อิตาลี 6–0 อิสราเอล ธงชาติอิสราเอล
(ตูริน ประเทศอิตาลี; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1961)

ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 7–1 อิสราเอล ธงชาติอิสราเอล
(ไคเซิร์สเลาเทิร์น ประเทศเยอรมนี; 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1970)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (1970)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 1956)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1964)
เอเชียนเกมส์
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1958)
ผลงานดีที่สุด2 เหรียญเงิน (1974)

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล (ฮีบรู: נבחרת ישראל בכדורגל, อักษรโรมัน: Nivheret Yisra'el BeKaduregel) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศอิสราเอล ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอิสราเอล (IFA)

ผู้เล่นคนสำคัญ[แก้]

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. Yossi Benayoun also played and scored against Romania B however this was not a full-international match and is therefore not included

อ้างอิง[แก้]

  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]