ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เกาหลีเหนือ
Shirt badge/Association crest
ฉายาChollima[1]
สมาคมสมาคมฟุตบอลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สมาพันธ์ย่อยEAFF (เอเชียตะวันออก)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนYun Jong-su
กัปตันJong Il-gwan
ติดทีมชาติสูงสุดRi Myong-guk (118)
ทำประตูสูงสุดJong Il-gwan (26)
สนามเหย้าสนามกีฬาคิม อิล-ซ็อง
รหัสฟีฟ่าPRK
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 110 เพิ่มขึ้น 8 (20 มิถุนายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด57 (พฤศจิกายน 1993)
อันดับต่ำสุด181 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 1998)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติจีน จีน 0–1 เกาหลีเหนือ ธงชาติเกาหลีเหนือ
(ปักกิ่ง ประเทศจีน; 7 ตุลาคม ค.ศ. 1956)[3]
ชนะสูงสุด
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 21–0 กวม ธงชาติกวม
(ไทเป ไต้หวัน; 11 มีนาคม ค.ศ. 2005)
แพ้สูงสุด
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 7–0 เกาหลีเหนือ ธงชาติเกาหลีเหนือ
(เคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้; 21 มิถุนายน ค.ศ. 2010)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1966)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (1966)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1980)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (1980)
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 2008)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2010 และ 2012)
EAFF E-1 Football Championship
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2005)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2005 และ 2015)
ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ
โชซ็อนกึล
ฮันจา
อาร์อาร์Joseon Minjujuui Inmin Gonghwaguk Chukgu Gukga Daepyo Tim
เอ็มอาร์Chosŏn Minjujuǔi Mingonghwaguk Ch'ukgu Kukka Taep'yo T'im
Munhwaŏ
โชซ็อนกึล
ฮันจา
อาร์อาร์Joseon Minjujuui Inmin Gonghwaguk Gukga Jonghap Tim
เอ็มอาร์Chosŏn Minjujuǔi Inmin Konghwaguk Kukka Chonghap T'im

ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ (เกาหลี: 조선민주주의인민공화국 국가종합팀, ฟีฟ่ายอมรับในชื่อ Korea DPR)[4] เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเกาหลีเหนือ และอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเกาหลีเหนือ ผลงานที่ดีที่สุดคือการเข้ารอบก่อนรองชนะเลิศของฟุตบอลโลก 1966 โดยชนะอิตาลีอย่างเหนือความคาดหมาย 1-0 กลายเป็นทีมจากเอเชียทีมแรกที่ผ่านถึงรอบก่อนรองชนะเลิศ

ทีมในปัจจุบันประกอบด้วยทั้งชาวเกาหลีเหนือและชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่น (Zainichi Korean) เนื่องจากภาวะทางการเมืองในเกาหลีเหนือ มีเฉพาะชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นที่สามารถค้าแข้งให้กับทีมนอกประเทศเกาหลีเหนืออย่างอิสระ นอกจากนี้ แฟนของทีมชาติเกาหลีเหนือที่ตามไปเชียร์ถึงต่างประเทศก็เป็นชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นเช่นกัน เนื่องจากชาวเกาหลีเหนือโดยทั่วไป มักถูกห้ามออกนอกประเทศ

ผลงาน

[แก้]
  • 1930 ถึง 1938 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1950 ถึง 1962 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1966 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 1970 - ถอนตัว
  • 1974 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1978 - ถอนตัว
  • 1982 ถึง 1994 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1998 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2002 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2006 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2010 - รอบแรก
  • 2014 ถึง 2018 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2022 - ถอนตัว
  • 1956 ถึง 1972 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1976 - ถอนตัว
  • 1980 - อันดับ 4
  • 1984 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1988 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1992 - รอบแรก
  • 1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2000 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2004 - ถูกเอเอฟซีแบน
  • 2007 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2011 - รอบแรก
  • 2015 - รอบแรก
  • 2019 - รอบแรก
  • 2023 - ถอนตัว
  • 2010 - ชนะ
  • 2012 - ชนะ

อีสต์เอเชียนคัพ

[แก้]
  • 2003 - ถอนตัว
  • 2005 - อันดับ 3
  • 2007 - อันดับ4
  • 2009 - ชนะ

ผลงานอื่น ๆ

[แก้]
  • แชมป์ฟุตบอลเยาวชนเอเอฟซี 2006

นักเตะชุดปัจจุบัน

[แก้]
0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK Ri Myong-guk (captain) 9 กันยายน ค.ศ. 1986 (อายุ 32 ปี) 102 0 เกาหลีเหนือ Pyongyang City
2 2DF Kim Chol-bom 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 24 ปี) 8 0 เกาหลีเหนือ April 25
3 2DF Jang Kuk-chol 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (อายุ 24 ปี) 39 5 เกาหลีเหนือ Hwaebul
4 2DF Kim Song-gi 23 ตุลาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 30 ปี) 6 0 ญี่ปุ่น Fujieda MYFC
5 2DF An Song-il 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 5 0 เกาหลีเหนือ April 25
6 2DF Ri Thong-il 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 1 0 เกาหลีเหนือ Kigwancha
7 4FW Han Kwang-song 11 กันยายน ค.ศ. 1998 (อายุ 20 ปี) 2 0 อิตาลี Perugia
8 4FW Ri Hyok-chol 27 มกราคม ค.ศ. 1991 (อายุ 27 ปี) 19 8 เกาหลีเหนือ Rimyongsu
9 3MF Kim Yong-il 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 24 ปี) 10 1 เกาหลีเหนือ Kigwancha
10 4FW Pak Kwang-ryong 27 กันยายน ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 34 13 ออสเตรีย St. Pölten
11 4FW Jong Il-gwan 30 ตุลาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 62 21 Unattached
12 3MF Kim Kyong-hun 11 สิงหาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 28 ปี) 2 0 เกาหลีเหนือ Kyonggongop
13 2DF Sim Hyon-jin 1 มกราคม ค.ศ. 1991 (อายุ 28 ปี) 30 5 เกาหลีเหนือ April 25
14 3MF Kang Kuk-chol 29 กันยายน ค.ศ. 1999 (อายุ 19 ปี) 8 0 เกาหลีเหนือ Rimyongsu
15 3MF Ri Un-chol 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 23 ปี) 12 0 เกาหลีเหนือ Sonbong
16 3MF Ri Yong-jik 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 (อายุ 27 ปี) 14 3 ญี่ปุ่น Tokyo Verdy
17 2DF Ri Chang-ho 4 มกราคม ค.ศ. 1990 (อายุ 29 ปี) 5 0 เกาหลีเหนือ Hwaebul
18 1GK Sin Hyok 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 1 0 เกาหลีเหนือ Kigwancha
19 4FW Rim Kwang-hyok 5 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 26 ปี) 6 3 เกาหลีเหนือ Kigwancha
20 3MF Choe Song-hyok 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (อายุ 20 ปี) 0 0 อิตาลี Arezzo
21 1GK Kang Ju-hyok 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 21 ปี) 1 0 เกาหลีเหนือ Hwaebul
22 3MF Ri Kum-chol 9 ธันวาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 27 ปี) 6 0 เกาหลีเหนือ Wolmido
23 2DF Ri Il-jin 20 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 25 ปี) 5 0 เกาหลีเหนือ Sobaeksu

อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Montague, James (12 December 2017). "Inside the Secret World of Football in North Korea". Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 3 January 2018.
  2. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  3. North Korea matches, ratings and points exchanged
  4. "Korea DPR". FIFA.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]