เซเรียอา
![]() | |
ประเทศ | ![]() |
---|---|
สมาพันธ์ | ยูฟ่า |
ก่อตั้ง | 1898 - อิตาเลียนฟุตบอลแชมเปียนชิป 1929 - กัลโชเซเรียอา |
จำนวนทีม | 20 |
ตกชั้นสู่ | เซเรียบี |
ถ้วยภายในประเทศ | โกปปาอีตาเลีย ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา |
ถ้วยระดับนานาชาติ | ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ยูฟ่ายูโรปาลีก ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | มิลาน (19 สมัย) (2021–22) |
ชนะเลิศมากที่สุด | ยูเวนตุส (36 สมัย) |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | SKY Italia Mediaset Premium บีอินสปอตส์ ทรูวิชั่นส์ (ในประเทศไทย) พีพีทีวี (ในประเทศไทย) |
เว็บไซต์ | www |
![]() |
กัลโชเซเรียอา (อิตาลี: Serie A) อิตาเลียนฟุตบอลแชมเปียนชิป เรียกสั้น ๆ ว่า กัมปีโอนาโต หรือสกูเดตโต เป็นชื่อของลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศอิตาลี ที่เริ่มทำการแข่งขันกันมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1898 อยู่ภายใต้การบริหารของสหพันธ์ฟุตบอลอิตาลี ซึ่งเจนัว เป็นสโมสรแรกที่คว้าแชมป์ได้ ในขณะที่โดยรวมแล้ว ยูเวนตุสเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยได้แชมป์ไปถึง 36 สมัย รองลงมาเป็นอินเตอร์มิลาน กับเอซี มิลาน คว้าไปทีมละ 19 สมัย ซึ่งสโมสรที่คว้าแชมป์ได้ทุก ๆ 10 สมัย จะได้รับสัญลักษณ์ดาวสีทอง ติดอยู่ด้านบนของสัญลักษณ์ทีมบนเสื้อ 1 ดวง ดังนั้น ยูเวนตุส จึงมี 3 ดาวติดอยู่ด้านบนของสัญลักษณ์ทีมบนเสื้อ ขณะที่อินเตอร์มิลาน และมิลาน มีทีมละ 1 ดาว[1]
การแข่งขันรายการนี้ในบางปีนั้นไม่มีแชมป์ ได้แก่ ในปี ค.ศ. 1915-1919 เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 และปี ค.ศ. 1943-1945 เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1944 FIGC มอบแชมป์ย้อนหลังให้กับสเปเซีย นอกจากนี้ ยังมีการริบแชมป์ของโตรีโน ในปี ค.ศ. 1927 อีกทั้งยังมีคดีกัลโช่โปลีที่ทีมฟิออเรนติน่า มิลาน ลาซิโอ และยูเวนตุส ต้องถูกฟ้องในข้อหา การพัวพันการกำหนดตัวผู้ตัดสินในนัดที่ตัวเองลงแข่ง โดยมีหลักฐานมาจากซิมการ์ดโทรศัพท์ที่มีบทสนทนาของเหล่าทีมข้างต้น เป็นเหตุให้ยูเวนตุสถูกริบแชมป์ ในปี ค.ศ. 2005 และ 2006 (ในปี ค.ศ. 2006 FIGC มอบแชมป์ให้กับอินเตอร์ ทีมอันดับที่ 2 ในฤดูกาลนั้น) ซึ่งภายหลังแม้จะมีการตรวจสอบพบว่า อินเตอร์ก็มีส่วนพัวพันกับคดีนี้ด้วย แต่เนื่องจากคดีหมดอายุความ ทำให้อินเตอร์ไม่ถูกสอบสวน[2]
ส่วนในฤดูกาล ค.ศ. 1921-22 นั้น มีทีมแชมป์อยู่ 2 ทีม คือ โนเวเซ ซึ่งรับรองโดย FIGC และโปรแวร์เชลลี ที่รับรองโดย CCI
เมื่อจบฤดูกาล 3 ทีมอันดับสุดท้ายของตารางจะตกชั้นลงในเล่นในเซเรียบี และทีมจากเซเรียบีจะเลื่อนชั้นขึ้นมา ส่วน 4 ทีมที่อันดับดีสุดจะได้ผ่านเข้าไปเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยสี่ทีมอันดับแรกจะผ่านเข้าไปรอในรอบแบ่งกลุ่ม (ทีมชนะเลิศได้อยู่โถ 1) ส่วนอันดับ 5 จะมีสิทธิเข้าไปเล่นในยูฟ่ายูโรปาลีก[3]
เจ็ดสาวน้อย[แก้]
ในวงการฟุตบอลอิตาลี จะมีคำศัพท์เรียกว่า "7 sorelle" แปลว่า "7 สาวน้อย" อันหมายถึงทีมที่มีสิทธิ์ที่จะได้แชมป์เซเรียอา (โดยเฉพาะในช่วงยุคทศวรรษที่ 90) ซึ่งประกอบไปด้วยทั้งหมด 7 ทีม คือ ยูเวนตุส, เอซีมิลาน, อินเตอร์มิลาน, โรมา, ลาซีโอ, ปาร์มา และ นาโปลี[4] [5]
สโมสรที่เข้าร่วม (ฤดูกาล 2020–21)[แก้]
สโมสร | เมือง | สนาม | ความจุ (คน) | ฤดูกาล 2019–20 |
---|---|---|---|---|
อาตาลันตา | แบร์กาโม | สนามกีฬาเจวิสส์ | 25,000 | อันดับที่ 3 ในเซเรียอา |
เบเนเวนโต | เบเนเวนโต | สนามกีฬาชีโร วีโกรีโต | 16,867 | ชนะเลิศ เซเรียบี |
โบโลญญา | โบโลญญา | สนามกีฬาเรนาโต ดัลลารา | 36,462 | อันดับที่ 12 ในเซเรียอา |
คัลยารี | คัลยารี | ซาร์เดกนา อารีนา | 16,416 | อันดับที่ 14 ในเซเรียอา |
โกรโตเน | โกรโตเน | สนามกีฬาอีซิโอ สกิดา | 16,640 | อันดับที่ 2 ในเซเรียบี |
ฟีออเรนตีนา | ฟลอเรนซ์ | สนามกีฬาอาร์เตมีโอ ฟรังกี | 45,000 | อันดับที่ 10 ในเซเรียอา |
เจนัว | เจนัว | สนามกีฬาลุยจิ แฟร์ราริส | 36,600 | อันดับที่ 17 ในเซเรียอา |
เฮลแลส เวโรนา | เวโรนา | สตาดีโอ มาร์กันโตนีโอ เบนเตโกดี | 39,371 | อันดับที่ 9 ในเซเรียอา |
อินเตอร์ มิลาน | มิลาน | สตาดีโอจูเซปเปเมอัซซา | 75,923 | อันดับที่ 2 ในเซเรียอา |
ยูเวนตุส | ตูริน | สนามกีฬาอัลลิอันซ์ | 41,507 | ชนะเลิศ เซเรียอา |
ลาซีโอ | โรม | สตาดีโอโอลิมปีโก | 70,634 | อันดับที่ 4 ในเซเรียอา |
มิลาน | มิลาน | สตาดีโอจูเซปเปเมอัซซา | 75,923 | อันดับที่ 6 ในเซเรียอา |
นาโปลี | เนเปิลส์ | สตาดีโอซานเปาโล | 54,726 | อันดับที่ 7 ในเซเรียอา |
ปาร์มา | ปาร์มา | สนามกีฬาเอนนีโอตาร์ดีนี | 27,906 | อันดับที่ 11 ในเซเรียอา |
โรมา | โรม | สตาดีโอโอลิมปีโก | 70,634 | อันดับที่ 5 ในเซเรียอา |
ซัมป์โดเรีย | เจนัว | สนามกีฬาลุยจี แฟร์ราริส | 36,599 | อันดับที่ 15 ในเซเรียอา |
ซัสซูโอโล | ซัสซูโอโล | สนามกีฬามาเปย์-ชิตตาเดลตรีโกโลเร (เรจโจเอมีเลีย) | 23,717 | อันดับที่ 8 ในเซเรียอา |
สเปเซีย | ลา สเปเซีย | สตาดีโอ ดีโน มานุซซี | 23,860 | ชนะเลิศเพลย์ออฟ เซเรียบี |
โตรีโน | ตูริน | สตาดีโอโอลิมปีโกกรันเดโตรีโน | 27,958 | อันดับที่ 16 ในเซเรียอา |
อูดีเนเซ | อูดีเน | สตาดีโอ ฟรีอูลี - ดาเซีย อารีนา | 25,144 | อันดับที่ 13 ในเซเรียอา |
ทำเนียบผู้ชนะเลิศ[แก้]
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามปี[แก้]
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
กัลโชเซเรียอา | ||||||
2021–22 | มิลาน | อินเตอร์ | ![]() | |||
2020-21 | อินเตอร์ | มิลาน | ![]() | |||
2019–20 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
2018–19 | ยูเวนตุส | นาโปลี | ![]() | |||
2017–18 | ยูเวนตุส | นาโปลี | ![]() ![]() | |||
2016–17 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
2015–16 | ยูเวนตุส | นาโปลี | ![]() | |||
2014–15 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
2013–14 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
2012–13 | ยูเวนตุส | นาโปลี | ![]() | |||
2011–12 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() | |||
2010-11 | มิลาน | อินเตอร์ | ![]() | |||
2009-10 | อินเตอร์ | โรมา | ![]() | |||
2008-09 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
2007-08 | อินเตอร์ | โรมา | ![]() | |||
2006-07 | อินเตอร์ | โรมา | ![]() | |||
2005-06 | อินเตอร์ (แต่งตั้ง) | โรมา | ![]() | |||
2004-05 | ไม่มีทีมแชมป์ เนื่องจากยูเวนตุสถูกริบแชมป์ จากกรณีเลือกกำหนดผู้ตัดสินในนัดที่ตัวเองแข่งขัน | ![]() | ||||
2003-04 | มิลาน | โรมา | ![]() | |||
2002-03 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
2001-02 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() ![]() | |||
2000-01 | โรมา | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1999-2000 | ลาซีโอ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1998-99 | มิลาน | ลาซีโอ | ![]() | |||
1997-98 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
1996-97 | ยูเวนตุส | ปาร์มา | ![]() | |||
1995-96 | มิลาน | ยูเวนตุส | ![]() ![]() | |||
1994-95 | ยูเวนตุส | ลาซีโอ | ![]() | |||
1993-94 | มิลาน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1992-93 | มิลาน | อินเตอร์ | ![]() | |||
1991-92 | มิลาน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1990-91 | ซัมป์โดเรีย | มิลาน | ![]() | |||
1989-90 | นาโปลี | มิลาน | ![]() | |||
1988-89 | อินเตอร์ | นาโปลี | ![]() | |||
1987-88 | มิลาน | นาโปลี | ![]() | |||
1986-87 | นาโปลี | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1985-86 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
1984-85 | เวโรนา | โตรีโน | ![]() | |||
1983-84 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
1982-83 | โรมา | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1981-82 | ยูเวนตุส | ฟีโอเรนตีนา | ![]() | |||
1980-81 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
1979-80 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1978-79 | มิลาน | เปรูจา | ![]() | |||
1977-78 | ยูเวนตุส | วีเชนซา | ![]() | |||
1976-77 | ยูเวนตุส | โตรีโน | ![]() | |||
1975-76 | โตรีโน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1974-75 | ยูเวนตุส | นาโปลี | ![]() | |||
1973-74 | ลาซีโอ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1972-73 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() ![]() ![]() | |||
1971-72 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() | |||
1970-71 | อินเตอร์ | มิลาน | ![]() | |||
1969-70 | คัลยารี | อินเตอร์ | ![]() | |||
1968-69 | ฟีโอเรนตีนา | คัลยารี | ![]() | |||
1967-68 | มิลาน | นาโปลี | ![]() | |||
1966-67 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
1965-66 | อินเตอร์ | โบโลญญา | ![]() | |||
1964-65 | อินเตอร์ | มิลาน | ![]() ![]() | |||
1963-64 | โบโลญญา | อินเตอร์ | ![]() | |||
1962-63 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() ![]() | |||
1961-62 | มิลาน | อินเตอร์ | ![]() ![]() ![]() | |||
1960-61 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() | |||
1959-60 | ยูเวนตุส | ฟีโอเรนตีนา | ![]() ![]() | |||
1958-59 | มิลาน | ฟีโอเรนตีนา | ![]() | |||
1957-58 | ยูเวนตุส | ฟีโอเรนตีนา | ![]() | |||
1956-57 | มิลาน | ฟีโอเรนตีนา | ![]() | |||
1955-56 | ฟีโอเรนตีนา | มิลาน | ![]() | |||
1954-55 | มิลาน | อูดีเนเซ | ![]() | |||
1953-54 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1952-53 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1951-52 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() | |||
1950-51 | มิลาน | อินเตอร์ | ![]() | |||
1949-50 | ยูเวนตุส | มิลาน | ![]() | |||
1948-49 | โตรีโน | อินเตอร์ | ![]() | |||
1947-48 | โตรีโน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1946-47 | โตรีโน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1945-46 | โตรีโน | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1944-45 | ||||||
1944 | สเปเซีย | โตรีโน | ||||
1943-44 | ||||||
1942-43 | โตรีโน | ลีวอร์โน | ![]() | |||
1941-42 | โรมา | โตรีโน | ![]() | |||
1940-41 | โบโลญญา | อินเตอร์ | ![]() | |||
1939-40 | อินเตอร์ | โบโลญญา | ![]() | |||
1938-39 | โบโลญญา | โตรีโน | ![]() ![]() | |||
1937-38 | อินเตอร์ | ยูเวนตุส | ![]() | |||
1936-37 | โบโลญญา | ลาซีโอ | ![]() | |||
1935-36 | โบโลญญา | โรมา | ![]() | |||
1934-35 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
1933-34 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
1932-33 | ยูเวนตุส | อินเตอร์ | ![]() | |||
1931-32 | ยูเวนตุส | โบโลญญา | ![]() ![]() | |||
1930-31 | ยูเวนตุส | โรมา | ![]() | |||
1929-30 | อินเตอร์ | เจนัว | ![]() | |||
อิตาเลียนฟุตบอลแชมเปียนชิป | ||||||
1928-29 | โบโลญญา | โตรีโน | ![]() | |||
1927-28 | โตรีโน | เจนัว | ![]() | |||
1926-27 | ไม่มีผู้ชนะเลิศ เนื่องจากโตรีโนถูกริบตำแหน่งชนะเลิศ จากกรณีล้มบอล | ![]() | ||||
1925-26 | ยูเวนตุส | อัลบาตรัสเตเวเร | ![]() | |||
1924-25 | โบโลญญา | อัลบาตรัสเตเวเร | ![]() | |||
1923-24 | เจนัว | ซาโวยา | ![]() | |||
1922-23 | เจนัว | ลาซีโอ | ||||
1921-22 | โนเวเซ | ซัมป์โดเรีย | ||||
1921-22 | โปรแวร์เชลลี | โรมา | ||||
1920-21 | โปรแวร์เชลลี | ปิซา | ||||
1919-20 | อินเตอร์ | ลีวอร์โน | ||||
1916-19 | ||||||
1915-16 | ||||||
1914-15 | เจนัว | โตรีโน | ||||
1913-14 | กาซาเล | ลาซีโอ | ||||
1912-13 | โปรแวร์เชลลี | ลาซีโอ | ||||
1911-12 | โปรแวร์เชลลี | เวเนเซีย | ||||
1910-11 | โปรแวร์เชลลี | วีเชนซา | ||||
1909-10 | อินเตอร์ | โปรแวร์เชลลี | ||||
1909 | โปรแวร์เชลลี | อูเอซเซ มีลาเนเซ | ||||
1908 | โปรแวร์เชลลี | อูเอซเซ มีลาเนเซ | ||||
1907 | มิลาน | โตรีโน | ||||
1906 | มิลาน | ยูเวนตุส | ||||
1905 | ยูเวนตุส | เจนัว | ||||
1904 | เจนัว | ยูเวนตุส | ||||
1903 | เจนัว | ยูเวนตุส | ||||
1902 | เจนัว | มิลาน | ||||
1901 | มิลาน | เจนัว | ||||
1900 | เจนัว | อินแตร์นาซีโอนาเลโตรีโน | ||||
1899 | เจนัว | อินแตร์นาซีโอนาเลโตรีโน | ||||
1898 | เจนัว | อินแตร์นาซีโอนาเลโตรีโน |
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามสโมสร[แก้]
สโมสร | สมัย | ฤดูกาลที่ชนะเลิศ |
---|---|---|
ยูเวนตุส![]() ![]() ![]() |
1905, 1925-26, 1930-31, 1931-32, 1932-33, 1933-34, 1934-35, 1949-50, 1951-52, 1957-58, 1959-60, 1960-61, 1966-67, 1971-72, 1972-73, 1974-75, 1976-77, 1977-78, 1980-81, 1981-82, 1983-84, 1985-86, 1994-95, 1996-97, 1997-98, 2001-02, 2002-03, 2011-12, 2012-13, 2013-14, 2014-15, 2015-16, 2016-17, 2017-18, 2018-19, 2019-20 | |
อินเตอร์![]() |
1909-10, 1919-20, 1929-30, 1937-38, 1939-40, 1952-53, 1953-54, 1962-63, 1964-65, 1965-66, 1970-71, 1979-80, 1988-89, 2005-06, 2006-07, 2007-08, 2008-09, 2009-10, 2020-21 | |
มิลาน![]() |
1901, 1906, 1907, 1950-51, 1954-55, 1956-57, 1958-59, 1961-62, 1967-68, 1978-79, 1987-88, 1991-92, 1992-93, 1993-94, 1995-96, 1998-99, 2003-04, 2010-11, 2021-22 | |
เจนัว | 1898, 1899, 1900, 1902, 1903, 1904, 1914-15, 1922-23, 1923-24 | |
โตรีโน | 1927-28, 1942-43, 1945-46, 1946-47, 1947-48, 1948-49, 1975-76 | |
โบโลญญา | 1924-25, 1928-29, 1935-36, 1936-37, 1938-39, 1940-41, 1963-64 | |
โปรแวร์เชลลี | 1908, 1909, 1910-11, 1911-12, 1912-13, 1920-21, 1921-22 | |
โรมา | 1941-42, 1982-83, 2000-01 | |
ลาซีโอ | 1973-74, 1999-2000 | |
ฟีออเรนตีนา | 1955-56, 1968-69 | |
นาโปลี | 1986-87, 1989-90 | |
คัลยารี | 1969-70 | |
กาซาเล | 1913-14 | |
โนเวเซ | 1921-22 | |
สเปเซีย | 1944 | |
เวโรนา | 1984-85 | |
ซัมป์โดเรีย | 1990-91 |
สถิติผู้ชนะเลิศ[แก้]
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามแคว้น[แก้]
แคว้น | สมัย | ทีมชนะเลิศ |
---|---|---|
พีดมอนต์ | ยูเวนตุส (36), โปรแวร์เชลลี (7), โตรีโน (7), กาซาเล (1), โนเวเซ (1) | |
ลอมบาร์ดี | อินเตอร์ (19), มิลาน (19) | |
ลีกูเรีย | เจนัว (9), ซัมป์โดเรีย (1), สเปเซีย (1) | |
เอมีเลีย-โรมัญญา | โบโลญญา (7) | |
ลาซีโอ | โรมา (3), ลาซีโอ (2) | |
คัมปาเนีย | นาโปลี (2) | |
ทัสกานี | ฟีออเรนตีนา (2) | |
ซาร์ดิเนีย | คัลยารี (1) | |
เวเนโต | เวโรนา (1) |
ผู้ชนะเลิศแบ่งตามเมือง[แก้]
เมือง | สมัย | ทีมชนะเลิศ |
---|---|---|
ตูริน | ยูเวนตุส (36), โตรีโน (7) | |
มิลาน | อินเตอร์ (19), มิลาน (19) | |
เจนัว | เจนัว (9), ซัมป์โดเรีย (1) | |
โบโลญญา | โบโลญญา (7) | |
แวร์เชลลี | โปรแวร์เชลลี (7) | |
โรม | โรมา (3), ลาซีโอ (2) | |
ฟลอเรนซ์ | ฟีออเรนตีนา (2) | |
เนเปิลส์ | นาโปลี (2) | |
คัลยารี | คัลยารี (1) | |
กาซาเลมอนแฟร์ราโต | กาซาเล (1) | |
ลาสเปเซีย | สเปเซีย (1) | |
โนวีลีกูเร | โนเวเซ (1) | |
เวโรนา | เวโรนา (1) |
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Member associations - Italy - Honours –". uefa.com.
- ↑ "Page 21: official statistical records recognized by FIGC" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-16. สืบค้นเมื่อ 2010-10-03.
- ↑ Fourth most successful European club for confederation and FIFA competitions won with 11 titles. Fourth most successful club in Europe for confederation club competition titles won (11), cf. "Confermato: I più titolati al mondo!" (ภาษาอิตาลี). A.C. Milan S.p.A official website. 30 May 2013. สืบค้นเมื่อ 19 June 2013.
- ↑ "[สาระแล้วครับ] ขอเช็คชื่อแฟนบอลกัลโชหน่อยครับ แล้วช่วยโหวตด้วย". พันทิปดอตคอม. 22 February 2011. สืบค้นเมื่อ 11 February 2014.
- ↑ "[สารานุกรมฉบับ 2] ตำนานเจ็ดสาวน้อย". พันทิปดอตคอม. 28 February 2011. สืบค้นเมื่อ 11 February 2014.