ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลหญิงทีมชาติอิตาลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลหญิงทีมชาติอิตาลี
Shirt badge/Association crest
ฉายาLe Azzurre
(เดอะบลูส์)
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลอิตาลี
(FIGC)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนมิเลนา แบร์โตลินี
กัปตันซารา กามา
ติดทีมชาติสูงสุดปาทรีซีอา ปานีโก (196)
ทำประตูสูงสุดปาทรีซีอา ปานีโก
เอลีซาเบตตา วิกนอตโต (107)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าITA
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน14 (27 มีนาคม 2020)
อันดับสูงสุด10 (กรกฎาคม 2003)
อันดับต่ำสุด19 (มีนาคม 2017)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 2–1 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(Viareggio, อิตาลี, 23 กุมภาพันธ์ 1968)
ชนะสูงสุด
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 15–0 Macedonia Flag of North Macedonia
(Vercelli, อิตาลี, 17 กันยายน 2014)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 6–0 อิตาลี ธงชาติอิตาลี
(Ringsted, เดนมาร์ก, 16 พฤษภาคม 1982)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 0–6 สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์
(ลาร์นากา ไซปรัส, 6 มีนาคม 2017)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1991)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (1991, 2019)
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม11 (ครั้งแรกใน 1984)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1993, 1997)
เกียรติยศ

ฟุตบอลหญิงทีมชาติอิตาลี (อิตาลี: Nazionale di calcio femminile dell'Italia) เป็นทีมฟุตบอลหญิงตัวแทนของประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นและแข่งขันนัดแรกใน ค.ศ. 1968 ปัจจุบันอยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลอิตาลีซึ่งบริหารฟุตบอลในประเทศอิตาลี

อิตาลีได้เข้าร่วมแข่งขันในรายการอย่างไม่เป็นทางการหลายครั้ง พวกเขาเป็นเจ้าภาพฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปใน ค.ศ. 1969 และฟุตบอลโลกหญิงใน ค.ศ. 1970 ต่อมาพวกเขาผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกหญิง 1991 และสามารถเข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศได้ ส่วนในฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป อิตาลีจบรองชนะเลิศในปี 1993 และ 1997 อย่างไรก็ตาม อิตาลีไม่ผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นระยะเวลาถึง 20 ปี จนกระทั่งในฟุตบอลโลกหญิง 2019 อิตาลีผ่านรอบคัดเลือกได้สำเร็จ และในรอบสุดท้าย พวกเขาจบรอบก่อนรองชนะเลิศ

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]