รายชื่อประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย)
บทความนี้รวบรวมรายชื่อประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร
รายชื่อประธานสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายชื่อ (อายุในวันรับตำแหน่ง) |
ชุดที่ (การเลือกตั้ง) |
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ที่มา | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 (1) |
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (อายุ 56 ปี 175 วัน) |
ชั่วคราว | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 | 1 กันยายน พ.ศ. 2475 | แต่งตั้ง | ประธานรัฐสภา | |
2 | เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) (อายุ 57 ปี 88 วัน) |
2 กันยายน พ.ศ. 2475[1] | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2476 | แต่งตั้ง | ประธานรัฐสภา | ||
1 (2) |
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (อายุ 57 ปี 348 วัน) |
1 (2476) |
15 ธันวาคม พ.ศ. 2476[2] | 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 (ตรงกับ ค.ศ. 1934)[3] | แต่งตั้ง[4] | ประธานรัฐสภา | |
3 (1) |
พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) (อายุ 47 ปี 131 วัน) |
10 มีนาคม พ.ศ. 2477[5] | 22 กันยายน พ.ศ. 2477[6] | แต่งตั้ง[7] | ประธานรัฐสภา | ||
4 (1-3) |
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (อายุ 46 ปี 170 วัน) |
22 กันยายน พ.ศ. 2477[8] | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 | แต่งตั้ง[9] | ประธานรัฐสภา | ||
17 ธันวาคม พ.ศ. 2477[10] | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 | ประธานรัฐสภา | |||||
2 สิงหาคม 2478[11] | 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 | ประธานรัฐสภา | |||||
5 (1-8) |
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (อายุ 45 ปี 320 วัน) |
2 (2480) |
3 สิงหาคม พ.ศ. 2479[12] | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 | ประธานรัฐสภา | ||
10 ธันวาคม 2480[13] | 24 มิถุนายน พ.ศ. 2481 | ||||||
28 มิถุนายน พ.ศ. 2481[14] | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2481 | ||||||
3 (2481) |
12 ธันวาคม 2481[15] | 24 มิถุนายน 2482 | |||||
28 มิถุนายน 2482[16] | 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 | ||||||
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2483[17] | 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 | ||||||
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2484[18] | 24 มิถุนายน 2485 | ||||||
30 มิถุนายน 2485[19] | 24 มิถุนายน 2486 | ||||||
3 (2) |
พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) (อายุ 57 ปี 249 วัน) |
6 กรกฎาคม 2486[20] | 24 มิถุนายน 2487 | ||||
5 (9-11) |
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (อายุ 53 ปี 288 วัน) |
2 กรกฎาคม 2487[21] | 24 มิถุนายน 2488 | ||||
29 มิถุนายน 2488[22] | 15 ตุลาคม 2488 | ||||||
4 (2489/1 2489/2) |
26 มกราคม 2489[23] | 3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 | |||||
6 (1) |
เกษม บุญศรี (อายุ 40 ปี 200 วัน) |
4 มิถุนายน 2489[24] | 10 พฤษภาคม 2490 | ||||
7 | พึ่ง ศรีจันทร์ (อายุ 39 ปี 364 วัน) |
13 พฤษภาคม 2490 | 8 พฤศจิกายน 2490 | ||||
6 (2) |
เกษม บุญศรี (อายุ 42 ปี 96 วัน) |
5 (2491), (2492) |
20 กุมภาพันธ์ 2491 | 14 มิถุนายน 2493 | |||
8 | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) (อายุ 57 ปี 166 วัน) |
15 มิถุนายน 2492 | 29 พฤศจิกายน 2494 | ||||
9 (1-2) |
พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) |
6 (ให้ ส.ส.ประเภทที่ 2 ทำหน้าที่ ส.ส.ประเภทที่ 1) |
1 ธันวาคม 2494 | 26 กุมภาพันธ์ 2495 | แต่งตั้ง | ประธานรัฐสภา | |
7 (2495) |
29 มีนาคม 2495 | 25 กุมภาพันธ์ 2500 | ประธานรัฐสภา | ||||
8 (2500/1) |
15 มีนาคม 2500 | 20 กันยายน 2500 | ประธานรัฐสภา | ||||
10 | พลเอก หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
- | 20 กันยายน 2500 | 14 ธันวาคม 2500 | แต่งตั้ง | ประธานรัฐสภา | |
9 (3) |
พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) |
9 (2500/2) |
15 ธันวาคม 2500 | 20 ตุลาคม 2501 | แต่งตั้ง | ประธานรัฐสภา | |
11 | พลตรีศิริ สิริโยธิน | 10 (2512) |
10 กุมภาพันธ์ 2512 | 17 พฤศจิกายน 2514 | ชลบุรี เขต 1 พรรคสหประชาไทย |
รองประธานรัฐสภา | |
12 | ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ | 11 (2518) |
7 กุมภาพันธ์ 2518 | 12 มกราคม 2519 | ฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคสังคมชาตินิยม |
ประธานรัฐสภา | |
13 (1) |
อุทัย พิมพ์ใจชน | 12 (2519) |
19 เมษายน 2519 | 6 ตุลาคม 2519 | ชลบุรี เขต 1 พรรคประชาธิปัตย์ |
ประธานรัฐสภา | |
14 | บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ | 13 (2522) |
9 พฤษภาคม 2522[25] | 19 มีนาคม 2526 | ลำปาง เขต 2 พรรคกิจสังคม |
รองประธานรัฐสภา | |
13 (2) |
อุทัย พิมพ์ใจชน | 14 (2526) |
27 เมษายน 2526[26] | 1 พฤษภาคม 2529 | ชลบุรี เขต 1 พรรคก้าวหน้า |
รองประธานรัฐสภา | |
15 (1) |
ชวน หลีกภัย | 15 (2529) |
4 สิงหาคม 2529[27] | 29 เมษายน 2531[28] | ตรัง เขต 1 พรรคประชาธิปัตย์ |
รองประธานรัฐสภา | |
16 | ปัญจะ เกสรทอง | 16 (2531) |
3 สิงหาคม 2531[29] | 23 กุมภาพันธ์ 2534[30] | เพชรบูรณ์ เขต 1 พรรคชาติไทย |
รองประธานรัฐสภา | |
17 | อาทิตย์ อุไรรัตน์ | 17 (2535) |
3 เมษายน 2535 | 30 มิถุนายน 2535 | ฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคสามัคคีธรรม |
รองประธานรัฐสภา | |
18 | มารุต บุนนาค | 18 (2535) |
22 กันยายน 2535 | 19 พฤษภาคม 2538 | กรุงเทพมหานคร เขต 2 พรรคประชาธิปัตย์ |
ประธานรัฐสภา | |
19 | พลตรีบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ | 19 (2538) |
11 กรกฎาคม 2538 | 27 กันยายน 2539 | สุพรรณบุรี เขต 1 พรรคชาติไทย |
ประธานรัฐสภา | |
20 (1) |
วันมูหะมัดนอร์ มะทา | 20 (2539) |
24 พฤศจิกายน 2539 | 27 มิถุนายน 2543 | ยะลา เขต 1 พรรคความหวังใหม่ |
ประธานรัฐสภา | |
21 | พิชัย รัตตกุล | 30 มิถุนายน 2543 [31] | 9 พฤศจิกายน 2543 | กรุงเทพมหานคร เขต 6 พรรคประชาธิปัตย์ |
ประธานรัฐสภา | ||
13 (3) |
อุทัย พิมพ์ใจชน | 21 (2544) |
6 กุมภาพันธ์ 2544[32] | 5 มกราคม 2548 | บัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย |
ประธานรัฐสภา | |
22 | โภคิน พลกุล | 22 (2548) |
8 มีนาคม 2548[33] | 24 กุมภาพันธ์ 2549[34] | บัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย |
ประธานรัฐสภา | |
23 | ยงยุทธ ติยะไพรัช | 23 (2550) |
24 มกราคม 2551[35] | 30 เมษายน 25511 | สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1 พรรคพลังประชาชน |
ประธานรัฐสภา | |
24 | ชัย ชิดชอบ | 15 พฤษภาคม 2551[36] | 10 พฤษภาคม 2554[37] | สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4 พรรคภูมิใจไทย (ก่อนหน้านั้นในระหว่างดำรงตำแหน่งสังกัดพรรคพลังประชาชน2) |
ประธานรัฐสภา | ||
25 | สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ | 24 (2554) |
2 สิงหาคม 2554[38] | 9 ธันวาคม 2556 | ขอนแก่น เขต 6 พรรคเพื่อไทย |
ประธานรัฐสภา | |
15 (2) |
ชวน หลีกภัย | 25 (2562) |
28 พฤษภาคม 2562[39] | 20 มีนาคม 2566 | บัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ |
ประธานรัฐสภา | |
20 (2) |
วันมูหะมัดนอร์ มะทา | 26 (2566) |
5 กรกฎาคม 2566[40] | ปัจจุบัน | บัญชีรายชื่อ พรรคประชาชาติ |
ประธานรัฐสภา |
หมายเหตุ
- 1 ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 หลังจากหยุดการปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 เมื่อศาลฎีการับคำฟ้องจาก กกต. กรณีทุจริตเลือกตั้ง 23 ธ.ค. 50
- 2 ก่อนหน้านั้นสังกัดพรรคพลังประชาชน ในระหว่างการเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรช่วงระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม - 2 ธันวาคม 2551 ซึ่งเป็นพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาลหลังจากการเลือกตั้งวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แต่ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคจึงต้องย้ายพรรคสังกัด โดยนายชัย ชิดชอบ ในนามกลุ่มเพื่อนเนวินจึงย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทย ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรที่ยังมีชีวิตอยู่
[แก้]ปัจจุบันมีอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรที่ยังมีชีวิตอยู่ 6 คน ดังรายชื่อดังต่อไปนี้
รายชื่อ | วาระ | วันเกิด |
---|---|---|
นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ | พ.ศ. 2535 | 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481 |
นายชวน หลีกภัย | พ.ศ. 2529 - พ.ศ. 2531, พ.ศ. 2562 - 2566 | 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 |
นายอุทัย พิมพ์ใจชน | พ.ศ. 2519, พ.ศ. 2526 - 2529, พ.ศ. 2544 - 2548 | 14 สิงหาคม พ.ศ. 2481 |
นายโภคิน พลกุล | พ.ศ. 2548 - 2549 | 15 เมษายน พ.ศ. 2495 |
นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ | พ.ศ. 2554 - 2556 | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 |
นายยงยุทธ ติยะไพรัช | พ.ศ. 2551 | 3 เมษายน พ.ศ. 2504 |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อประธานรัฐสภาไทย
- รายชื่อประธานวุฒิสภาไทย
- รายชื่อรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
- รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย
- รายพระนามและชื่ออธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร เปลี่ยนประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๔๙, หน้า ๒๑๖๙, ๒๕ กันยายน ๒๔๗๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๐, หน้า ๘๒๕, ๑๕ ธันวาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่องประธานสภาผู้แทนราษฎรลาออก และตั้งใหม่ เล่ม ๕๐, หน้า ๑๐๐๕, ๑๘ มีนาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกา ตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒ พุทธศักราช ๒๔๗๖ เล่ม ๕๐, หน้า ๘๑๖, ๙ ธันวาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่องประธานสภาผู้แทนราษฎรลาออก และตั้งใหม่ เล่ม ๕๐, หน้า ๑๐๐๕, ๑๘ มีนาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่องประธานสภาผู้แทนราษฎรลาออก และตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เล่ม ๕๑, หน้า ๖๔๖, ๒๔ กันยายน ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกา ตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒ พุทธศักราช ๒๔๗๖ เล่ม ๕๐, หน้า ๘๑๖, ๙ ธันวาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่องประธานสภาผู้แทนราษฎรลาออก และตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เล่ม ๕๑, หน้า ๖๔๖, ๒๔ กันยายน ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกา ตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒ พุทธศักราช ๒๔๗๖ เล่ม ๕๐, หน้า ๘๑๖, ๙ ธันวาคม ๒๔๗๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๑, หน้า ๑๑๗๒, ๒๓ ธันวาคม ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๒, หน้า ๑๒๑๗, ๒ สิงหาคม ๒๔๗๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๓, หน้า ๓๑๖, ๙ สิงหาคม ๒๔๗๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๔, หน้า ๑๓๙๗, ๑๓ ธันวาคม ๒๔๘๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๕, หน้า ๒๔๗, ๓๐ มิถุนายน ๒๔๘๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๕, หน้า ๗๐๔, ๑๒ธันวาคม ๒๔๘๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๖, หน้า ๖๔๐, ๓ กรกฎาคม ๒๔๘๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๗, หน้า ๑๗๑, ๒ กรกฎาคม ๒๔๘๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๕๘, หน้า ๙๑๘, ๘ กรกฎาคม ๒๔๘๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาส ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราสดร เล่ม ๕๙, ตอนที่ ๕๖, ๗ กรกฎาคม ๒๔๘๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาส ตั้งประธานสภาผู้แทนราสดร เล่ม ๖๐, ตอนที่ ๓๘, หน้า ๑๑๔๕, ๑๓ กรกดาคม ๒๔๘๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกสา ประกาส ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราสดร เล่ม ๖๑, ตอนที่ ๔๐, 4 กรกดาคม 2487
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ตอนที่ ๓๗, เล่ม ๖๒, ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ตอนที่ ๘, เล่ม ๖๓, ๕ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทน ตอนที่ ๔๐, เล่ม ๖๓, ๑๑ มิถุนายน ๒๔๘๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๙๖, ตอนที่ ๗๘, ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๐๐, ตอนที่ ๖๗, ๒๘ เมษายน ๒๕๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๐๓, ตอนที่ ๑๓๗, ๕ สิงหาคม ๒๕๒๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๑ เล่ม ๑๐๕, ตอนที่ ๖๙, ๒๙ เมษายน ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๐๕, ตอนที่ ๑๒๖, ๓ สิงหาคม ๒๕๓๑
- ↑ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๑๘, ตอนพิเศษ ๙ ง, ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เก็บถาวร 2011-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เล่ม ๑๒๒, ตอนพิเศษ ๑๙ ง, ๘ มีนาคม ๒๕๔๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๙ เล่ม ๑๒๓, ตอนที่ ๒๐ ก, ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๒๕, ตอนพิเศษ ๒๒ ง, ๓๑ มกราคม ๒๕๕๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๒๕, ตอนพิเศษ ๘๒ ง, ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๔ เล่ม ๑๒๘, ตอนที่ ๓๓ ก, ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เล่ม ๑๒๘, ตอนพิเศษ ๘๕ ง , ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔, หน้า ๑
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
- ↑ "ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (พิเศษ 161 ง): 1. 2023-07-07. สืบค้นเมื่อ 2023-07-07.