รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4)
![]() | ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควร[1]
ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี แบ่งออกเป็น 6 ชั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยชั้นเสนางคะบดีจัดเป็นชั้นสูงสุด พระราชพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีนั้น ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งเก่าและใหม่จะเข้าร่วมในพระราชพิธีเฉพาะพระพักตร์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาด้วย[2] การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ ควรสวมสายสะพายรามาธิบดีเฉพาะงานที่เกี่ยวกับราชการทหาร ซึ่งมีหมายกำหนดการระบุไว้โดยเฉพาะว่าให้สวมสายสะพายรามาธิบดี[3] โดยมีรายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้น 1 - 4 ดังนี้
ประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระอัฐมรามาธิบดินทร
- พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ชั้นที่ 1 เสนางคะบดี[แก้]
- บัญชีรายชื่อนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ปีที่ได้รับ | พระนาม/ชื่อ | อ้างอิง |
---|---|---|
พ.ศ. 2461 | จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (ตำแหน่งคณาธิบดี) | [4] |
จอมพล สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (ตำแหน่งที่ปรึกษา และ ตำแหน่งคณาธิบดี (พ.ศ. 2471))[5] | [4] | |
จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (ตำแหน่งที่ปรึกษา) | [4] | |
นายพลตรี พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ | [6] | |
![]() |
[7] | |
![]() | ||
![]() | ||
พ.ศ. 2464 | ![]() |
[8] |
พ.ศ. 2503 | ![]() |
[9] |
พ.ศ. 2503 | ![]() |
[10] |
พ.ศ. 2505 | ![]() |
[11] |
พ.ศ. 2505 | จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ | [12] |
พ.ศ. 2508 | จอมพล ถนอม กิตติขจร | [13] |
พ.ศ. 2516 | จอมพล ประภาส จารุเสถียร | [14] |
พ.ศ. 2533 | พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | [15] |
ชั้นที่ 2 มหาโยธิน[แก้]
- บัญชีรายชื่อนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ผู้ได้รับพระราชทาน ม.ร. ที่ยังมีชีวิตอยู่
ปีที่ได้รับ | พระนาม/ชื่อ | อ้างอิง |
---|---|---|
พ.ศ. 2461 | นายพลเรือโท พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (ตำแหน่งที่ปรึกษา) | [4] |
นายพลโท พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) (ตำแหน่งที่ปรึกษา) | [4] | |
นายพลโท พระยาสีหราชเดโชไชย (แย้ม ณ นคร) (ตำแหน่งเลขาธิการ) | [4] | |
นายพลโท พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนกำแพงเพ็ชร์อรรคโยธิน | [7] | |
นายพลเรือโท พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสิงหวิกรมเกรียงไกร | [7] | |
นายพลเสือป่า เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) | [7] | |
นายพลโท หม่อมเจ้าอลงกฏ ศุขสวัสดิ | [7] | |
นายพลตรี หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์ | [7] | |
นายพลตรี สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมขุนลพบุรีราเมศวร์ | [7] | |
จอมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) | [7] | |
นายพลเสือป่า หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร | [7] | |
นายพลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร | [7] | |
นายพลโท พระยาสุรินทราชา (หม่อมราชวงศ์สิทธิ สุทัศน์) | [7] | |
พ.ศ. 2508 | พลเอก จิตติ นาวีเสถียร | [13] |
พลอากาศเอกทวี จุลละทรัพย์ | [13] | |
พ.ศ. 2520 | พลเอก อรุณ ทวาทศิน | [16] |
พลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์ | [15] | |
พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก | [15] | |
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | [15] | |
พ.ศ. 2541 | พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร | [17] |
ชั้นที่ 3 โยธิน[แก้]
- บัญชีรายชื่อนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ปีที่ได้รับ | พระนาม/ชื่อ | อ้างอิง |
---|---|---|
พ.ศ. 2461 | นายพลเสือป่า เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) | [7] |
พระยานนทิเสนสุเรนทรภักดี (แม็ค เศียนเสวี) | [7] | |
พ.ศ. 2462 | นายพันเอก พระเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) | [18] |
นายพันโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร | [18] | |
นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค์ (ต๋อย หัสดิเสวี) | [18] | |
พ.ศ. 2472 | นายพันเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง สินศุข) | [19] |
พ.ศ. 2525 | พลเอก อิทธิ สิมารักษ์ | [20] |
พ.ศ. 2528 | พันโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช | [21] |
ชั้นที่ 4 อัศวิน[แก้]
- บัญชีรายชื่อนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ผู้ได้รับพระราชทาน อ.ร. ที่ยังมีชีวิตอยู่
ปีที่ได้รับ | พระนาม/ชื่อ | อ้างอิง |
---|---|---|
พ.ศ. 2461 | นายนาวาโท หลวงหาญสมุท | [7] |
พระยาสุรบดินทรสุรินทรฦๅชัย (พร จารุจินดา) | [7] | |
พ.ศ. 2462 | นายร้อย เอกศรี ศุขวาที | [18] |
นายร้อยเอก เพิ่ม อุณหสูต | [18] | |
นายร้อยเอก แม้น เหมะจุฑา | [18] | |
นายร้อยโท หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ | [18] | |
นายร้อยโท มุ่ย มังคลานนท์ | [18] | |
นายร้อยโท เรี่ยม เศวตเศรนี | [18] | |
นายร้อยตรี จี๊ด ยุวนวรรธนะ | [18] | |
นายร้อยตรี เวก สู่ไชย | [18] | |
นายร้อยตรี เชียร บุณยพุกกณะ | [18] | |
นายร้อยตรี ชุ่ม จิตร์เมตตา | [18] | |
นายร้อยโท กระมล โชติกเสถียร | [22] | |
นายร้อยโท ภักดิ์ เกษสำลี | [22] | |
นายร้อยโท สุ้ย ยุกตวิสาร | [22] | |
นายร้อยโท พล เสนีวงศ์ ณ กรุงเทพ (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) | [22] | |
นายร้อยโท ต่วน โกมารทัต | [22] | |
นายร้อยโท เภา เพียรเลิศ | [23] | |
พ.ศ. 2511 | พันตรี ยุทธนา แย้มพันธุ์ | [24] |
พ.ศ. 2512 | พันตำรวจตรี กฤช สังขทรัพย์ | [25] |
พ.ศ. 2518 | พันตำรวจตรี วินิจ รัญเสวะ | [26] |
พ.ศ. 2520 | พันเอก เจริญ ทองนิ่ม | [26] |
พันตำรวจโท บัญชา โปร่งสระ | [26] | |
พันตรี เปรียญ พลอยมุกดา | [26] | |
ร้อยเอก ชาติชาย นาตรีชน | [26] | |
พันเอก หาญ ลีลานนท์ | [26] | |
พันเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ | [26] | |
พันเอก จรวย นิ่มดิษฐ์ | [26] | |
พ.ศ. 2522 | พันเอก พิศิษฐ์ เหมะบุตร | [26] |
พ.ศ. 2525 | พันเอก หาญ เพไท | [20] |
พันโท วิโรจน์ ทองมิตร | [20] | |
ร้อยเอกยิ่งยศ ศรีเจริญ | [20] | |
ร้อยเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร | [20] | |
ร้อยเอก อุดม กระจ่างสุด | [20] | |
พันเอ กสุรพร บุญโฉม | [20] | |
พันตรี อัคพล จิตระพรหมา | [20] | |
ร้อยเอก ประมุข ตันยะบุตร | [20] | |
พ.ศ. 2533 | พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ | [15] |
พลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี | [15] | |
พันเอก อุดมชัย องคสิงห | [15] |
หน่วยทหารที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี[แก้]
- 21 กันยายน พ.ศ. 2462 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี พระราชทานแก่กองทหารบกรถยนต์ซึ่งไปราชการสงครามข้ามทะเล[27] (ชั้นที่ 3 โยธิน)
- 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 - เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร พระราชทานแก่หน่วยทหารในสังกัดกรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง [28]
- กองพันที่ 1 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- กองพันที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- กองพันที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติเครื่องราชอิศริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 35, ตอน 0 ก, 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461, หน้า 169
- ↑ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เก็บถาวร 2012-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก สำนักนายกรัฐมนตรี
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย พ.ศ. ๒๕๔๑, เล่ม 115, ตอนพิเศษ 118 ง เล่มที่ 2, 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541, หน้า 1
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 35, ตอน 0 ง,28 กรกฎาคม พ.ศ. 2461, หน้า 980
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งคณาธิบดี เลขาธิการ และที่ปรึกษาสำหรับเครื่องราชอิสสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ครั้งที่ 2), เล่ม 45, ตอน 0 ก, 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471, หน้า 167
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 35, ตอน 0 ง, 2 ธันวาคม พ.ศ. 2461, หน้า 2177
- ↑ 7.00 7.01 7.02 7.03 7.04 7.05 7.06 7.07 7.08 7.09 7.10 7.11 7.12 7.13 7.14 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดรเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 35, ตอน 0 ง, 2 ธันวาคม พ.ศ. 2461, หน้า 2177
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดร แห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีแก่จอมพลจอฟฟร์, เล่ม 35, ตอน 0 ง, 1 มกราคม พ.ศ. 2464, หน้า 2840
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม 81, ตอน 85 ง, 8 กันยายน พ.ศ. 2507, หน้า 2303
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม 82, ตอน 113 ง, 28 ธันวาคม พ.ศ. 2508, หน้า 3263
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รวม 2 เรื่อง, เล่ม 79, ตอน 34 ง, 10 เมษายน พ.ศ. 2505, หน้า 967
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รวม 2 เรื่อง, เล่ม 9, ตอน 69 ง,31 กรกฎาคม พ.ศ. 2505, หน้า 1691
- ↑ 13.0 13.1 13.2 ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รามาธิบดี, เล่ม 82, ตอน 41 ง, 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2508, หน้า 1445
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รามาธิบดี, เล่ม 90, ตอน 57 ง ฉบับพิเศษ, 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2516, หน้า 23
- ↑ 15.0 15.1 15.2 15.3 15.4 15.5 15.6 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 107, ตอน 55 ง, 5 เมษายน พ.ศ. 2533, หน้า 2659
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี , เล่ม 94, ตอน 37 ง, 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2520, หน้า 1966
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี , เล่ม 115, ตอน 12 ข, 22 มิถุนายน พ.ศ. 2541, หน้า 2
- ↑ 18.00 18.01 18.02 18.03 18.04 18.05 18.06 18.07 18.08 18.09 18.10 18.11 18.12 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดรแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดีและเหรียญรามมาลา , เล่ม 36, ตอน ,27 เมษายน พ.ศ. 2462,หน้า 152
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดรแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดีและเหรียญรามมาลา , เล่ม 46, ตอน 0,23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472, หน้า 4129
- ↑ 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 20.5 20.6 20.7 20.8 ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 99, ตอน 76 ง ฉบับพิเศษ,3 มิถุนายน พ.ศ. 2525, หน้า 21
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เล่ม 102, ตอน 97 ง, 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528, หน้า 3649
- ↑ 22.0 22.1 22.2 22.3 22.4 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดรแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดีและเหรียญรามมาลา , เล่ม 36, ตอน 0,21 กันยายน พ.ศ. 2462, หน้า 1722
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานฐานันดรแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดีและเหรียญรามมาลา , เล่ม 36, ตอน 0, 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462, หน้า 2331
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รามาธิบดี , เล่ม 85, ตอน 101 ง ฉบับพิเศษ, 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511, หน้า 16
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รามาธิบดี , เล่ม 86, ตอน 33 ง, 15 เมษายน พ.ศ. 2512, หน้า 1502
- ↑ 26.0 26.1 26.2 26.3 26.4 26.5 26.6 26.7 26.8 ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี, เล่ม 97, ตอน 60 ง ฉบับพิเศษ, 16 เมษายน พ.ศ. 2523, หน้า 1
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีประดับธงไชยของกองทหารบกรถยนต์ซึ่งไปราชการสงครามข้ามทะเล. เล่ม 36, ตอน 0, 21 กันยายน พ.ศ. 2462, หน้า 1721.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีประดับธงชัยเฉลิมพล. เล่ม 100, ตอนที่ 125 ง ฉบับพิเศษ, 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2526, หน้า 15
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: Order of Rama |
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เก็บถาวร 2012-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี