รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[1] ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์[แก้]

ปีที่ได้รับ พระนาม อ้างอิง
พ.ศ. 2462 พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี [2]
หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร
หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
หม่อมเจ้าปราณีเนาวบุตร นวรัตน์
เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลพ สุทัศน์)
เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)
พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)
พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์)
พระยาราชวัลภานุสิษฐ์ (อ๊อด ศุภมิตร์)
พระยาศุภกรณบรรณสาร (นุ่ม วสุธาร)
เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)
พระยาเทพอรชุน (อุ่ม อินทรโยธิน)
พระยาบุรีนวราษฐ์ (ชวน สิงหเสนี)
พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)
พระยาศรีกฤดากร (หม่อมหลวงวราห์ กุญชร ณ อยุธยา)
พระยาสุจริตธำรง (โถ สุจริตกุล)
พระยาประเสริฐศุภกิจ (เพิ่ม ไกรฤกษ์)
พระยาวิศุกรรมศิลป์ประสิทธิ์ (น้อย ศิลปี)
พระยาบำเรอภักดิ์ (ทองดี สุวรรณสิริ)
พระยาไพชยนต์เทพ (หม่อมราชวงศ์ลพ อรุณวงศ์ ณ อยุธยา)
พระยามหามนตรี (พงศ์ สวัสดิ์ชูโต)
พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (อู๊ด สุจริตกุล)
พระยาบริบูรณราชสมบัติ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร ณ อยุธยา)
พระยาสุรราชฤทธานนท์ (พิณ พินทุโยธิน)
พระยาอัศวบดีศรีสุรพาหน (เล็ก โกมารภัจ)
พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)
พระยาบุษยรถบดี (ทับทิม อมาตยกุล)
พระยาวรสิทธิ์เสรีวัตร์ (สอาด ไชยนันทน์)
พระยาราชสาส์นโสภณ (สอาจ ชูโต)
พระยานรฤทธิ์ราชหัช (ต่วน ตาตะนันทน์)
พระยาอัพภันตริกามาตย์ (จ่าง ภาณุทัต)
พระยาบำรุงราชบริพาร (กริ่ม สุรนันทน์)
พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช)
พระยาสุรวงศ์วิวัฒน์ (เตี้ยม บุนนาค)
พระยาสุเรนทรโยธิน (สอน สุเรนทรานนท์)
พระยานรราชจำนง (มา วรรณโกวิท)
เจ้าหมื่นสรรเพ็ธภักดี (พ่วง วัชระเสวี)
เจ้าหมื่นศรีสรรักษ์ (เจน นาคะเสวี)
เจ้าหมื่นไวยวรนารถ (สนิท จารุจินดา)
เจ้าหมื่นเสมอใจราช (เนียน สาคะริก)
พระยาไชยนันทน์นิพัทธพงศ์ (เชย ไชยนันทน์)
พระยาเทพากรณ์ (รื่น วัชโรมัย)
พระยาราชโกษา (อุ่น ไชยาคำ)
พระยานัฏภานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต)
พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
จมื่นพัลลภพลาธิการ (ฟู วรโภค)
พระจันทร์ทิตย์ (ปริก ปะริกษิตะทัต)
พระบำเรอพิทักษ์ (เบี้ยว วาศภูติ)
หลวงจัตตุรงควิชัย (ฮก บุนนาค)
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร [3]
หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร
หม่อมเจ้าเสรษฐศิริ กฤดากร
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล
หม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ
พระยาสุรินทราชา (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์)
พระยานนทิเสนสุเรนทรภักดี (แม็ค เศียนเสวี)
พ.ศ. 2463 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต [4]
พระยาเสถียรสุรประเพณี (ชม ชมเสวี)
พระยาธนรัตนบดี (เสงี่ยม สิงหลกะ)
พระยานรรัตนราชมานิต (หม่อมหลวงเชื้อ มนตรีกุล ณ อยุธยา)
พระยาพิทักษ์เทพมณเฑียร (กระจ่าง หงสกุล)
พระยาพิทักษ์ภูบาล (สวัสดิ์ วิเศษศิริ)
เจ้าหมื่นไวยวรนาถ (จิตร จิตตเสวี)
พระยาราชอักษร (ใช้ อัศวรักษ์)
พระยาวัชรินเสวี (เขียน เลขะวัฒนะ)
พระฤทธิ์รณจักร์ (กรับ โฆษะโยธิน)
พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี(ถอนสิทธิ 16 มีนาคม พ.ศ. 2463) [5] [6]
พ.ศ. 2464 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ [7]
พ.ศ. 2465 พระวรชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี [8]
พ.ศ. 2466 พระยาคทาธรบดีสีหราชบาลเมือง (เทียบ อัศวรักษ์) [9]

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เก็บถาวร 2011-11-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑
  2. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวัลลภาภรณ์ รายพระนามและนามผู้รับพระราชทานตราวัลภาภรณ์ และคำแถลงความชอบของผู้นั้น ๆ, เล่ม๓๖,ตอน ๐, ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๒, หน้า ๖
  3. ราชกิจจานุเบกษา, รายพระนามและนามผู้ที่ได้รับพระราชทานตราวัลภาภรณ์ในงานเฉลิมพระชนมพรรษา, เล่ม ๓๖, ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๒, หน้า ๓๐๐๗
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศความชอบผู้รับพระราชทานตราวัลลภาภรณ์, เล่ม ๓๗, ตอน ๐, ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๓, หน้า ๓๒๓๕
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ ถอนสิทธิที่พระราชทานไว้แก่พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ตามประกาศเพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติตราวัลลภาภรณ์ พุทธศักราช ๒๔๖๓ ลงวันที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๓
  6. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวัลลภาภรณ์ฝ่ายใน, เล่ม ๓๗, ตอน ๐, ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๓, หน้า ๓๓๘๙
  7. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวัลลภาภรณ์ฝ่ายใน, เล่ม ๓๘, ตอน ๐ง, ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๖๐๔
  8. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวัลลภาภรณ์ฝ่ายใน, เล่ม ๓๙, ตอน ง, ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๗๑๙
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศพระราชทานตราวัลลภาภรณ์, เล่ม ๔๐, ตอน ง, ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๖, หน้า ๔๓๑๔