เหรียญกล้าหาญ
เหรียญกล้าหาญ | |
---|---|
![]() | |
มอบโดย พระมหากษัตริย์ไทย | |
อักษรย่อ | ร.ก. |
ประเภท | เหรียญบำเหน็จกล้าหาญ |
วันสถาปนา | 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 |
ประเทศ | ![]() |
จำนวนสำรับ | ไม่จำกัดจำนวน |
ผู้สมควรได้รับ | บุคคลหรือหน่วยทหารที่ทำการรบอย่างกล้าหาญ |
มอบเพื่อ | ทหาร ตำรวจ หน่วยทหาร และผู้ที่กระทำหน้าที่อย่างทหารหรือตำรวจ ซึ่งได้กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรูตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงกลาโหมกำหนด |
สถานะ | ยังพระราชทานอยู่ |
ผู้สถาปนา | คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร |
ประธาน | พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ลำดับเกียรติ | |
สูงกว่า | เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เหรียญรามมาลา |
รองมา | เหรียญชัยสมรภูมิ |
เสมอ | เหรียญดุษฎีมาลา เข็มกล้าหาญ |
เหรียญกล้าหาญ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยใช้ชื่อย่อว่า ร.ก. โดยสร้างขึ้นตามพระราชกำหนดเหรียญกล้าหาญ พ.ศ. 2484 เพื่อพระราชทานเป็นบำเหน็จความกล้าหาญทดแทนเหรียญดุษฎีมาลา เข็มกล้าหาญ ต่อมาได้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับเหรียญกล้าหาญ โดยยกเลิกกฎหมายฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติเหรียญกล้าหาญ พ.ศ. 2521 เพื่อบังคับใช้แทนที่ต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ลักษณะของเหรียญ[แก้]
เหรียญกล้าหาญมีลักษณะเป็นเหรียญโลหะกลมรมดำ ด้านหน้ามีพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกำลังทรงกระทำยุทธหัตถีกับราชศัตรู มีอักษรจารึกว่า “สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกู้ชาติ” ด้านหลังมีอักษรจารึกว่า “เรากล้ารบเพื่อเกียรติศักดิ์ไทย” ตัวเหรียญห้อยกับแพรแถบสีแดงขาว กว้าง 3.5 เซนติเมตร ข้างบนมีเข็มโลหะรมดำรูปคทาจอมพลจารึกอักษรว่า “กล้าหาญ”
การพระราชทาน[แก้]
การพระราชทานเหรียญกล้าหาญตามพระราชบัญญัติเหรียญกล้าหาญ พ.ศ. 2521 กำหนดไว้ว่า เหรียญกล้าหาญนี้จะพระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ หน่วยทหาร และผู้ที่กระทำหน้าที่อย่างทหารหรือตำรวจ ซึ่งได้กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรูตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ถ้าบุคคลหรือหน่วยทหารที่ได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญกระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญต่อมาอีก จะได้รับพระราชทานเครื่องหมายรูปช่อชัยพฤกษ์ทำด้วยโลหะสีทอง สำหรับติดที่แพรแถบต่อไปครั้งละ 1 เครื่องหมาย
กรณีที่บุคคลซึ่งสมควรได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญตายเสียก่อนได้รับพระราชทาน จะได้พระราชทานแก่ทายาทโดยธรรมคนใดคนหนึ่งของผู้นั้น เพื่อเป็นเครื่องระลึกถึงความกล้าหาญของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว แต่ทายาทไม่มีสิทธิประดับเหรียญกล้าหาญดังกล่าว และถ้าผู้ได้รับพระราชทานหรือทายาทโดยธรรมผู้รักษาเหรียญกล้าหาญนั้น กระทำความผิดร้ายแรงหรือประพฤติตนไม่สมเกียรติอาจทรงเรียกคืนได้ ถ้าส่งคืนไม่ได้ด้วยประการใด ๆ ภายในกำหนดหนึ่งเดือน ต้องใช้ราคาเหรียญนั้น
บุคคลหรือหน่วยทหารซึ่งได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญ ให้มีประกาศนียบัตร ทรงลงพระปรมาภิไธย ประทับพระราชลัญจกร
ผู้ที่ได้รับพระราชทาน[แก้]
บุคคล[แก้]
หมายเหตุ: ชั้นยศ พระนาม ชื่อและนามสกุล ของผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญ สะกดตามที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา
ในรัชกาลที่ 8[แก้]
ชั้นยศ-ชื่อ-นามสกุล | สังกัด | วันที่ประกาศ ชื่อผู้รับพระราชทาน |
ปฏิบัติการครั้งที่ได้รับพระราชทาน | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|
นายพันตรี สุรินทร์ ปั้นดี | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายพันตรี สนิท หงษ์ประสงค์ | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายร้อยโท ไชโย กระสิณ | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่านายสิบเอก กิมไล้ แซ่เตียว | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่านายสิบเอก คล้อย วงษ์สถิน | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่านายสิบเอก โพล้ง กลัดตลาด | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่านายสิบเอก ขุนทอง ขาวสุขา | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายสิบตรี ยงค์ สุขแสง | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายสิบตรี สำเภา สมประสงค์ | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นักเรียนนายสิบ จำนงค์ แฉล้มสุข | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นักเรียนนายสิบ คณึง รงค์กระจ่าง | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พลทหาร สมัคร์ เนียวกุล | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พลทหาร ยม สืบกุศล | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พลทหาร อรุณ กลิ่นบัวแก้ว | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พลทหาร เต็ก ขจรเวช | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายร้อยตำรวจตรี หนู ไชยบุรี | ตำรวจสนาม | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายนาวาอากาศเอก ขุนรณนภากาศ (ฟื้น ฤทธาคนี) | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายนาวาอากาศตรี หม่อมราชวงศ์เสนาะ ลดาวัลย์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายนาวาอากาศตรี หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศเอก ประสงค์ สุชีวะ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศเอก เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศเอก มานพ สุริยะ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศเอก ไชย สุนทรสิงห์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศโท ทองใบ พันธุ์สบาย | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศโท ผัน สุวรรณรักษ์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศตรี สว่าง พัดทอง | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศตรี สังวาลย์ วรทรัพย์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศตรี สำราญ โกมลวิภาต | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศตรี จรูญ กฤษณราช | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายเรืออากาศตรี แวว จันทศร | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศเอก ศักดิ์ อินปุระ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศเอก รังสรรค์ อ่อนรักษา | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศเอก ทองคำ เปล่งขำ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศเอก สายบัว มดิศร | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศโท บุญเยี่ยม ปั้นสุขสวัสดิ์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศโท เกษม สินธุวรรณะ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศตรี บุญ สุขสบาย | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
พันจ่าอากาศตรี ลออ จาตกานนท์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่าอากาศเอก ส่ง ว่องชิงชัย | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่าอากาศเอก ประยูร สุกุมลจันทร์ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
จ่าอากาศโท จาด อ่ำละออ | กองทัพอากาศ | 25 ก.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | [1] | |
นายนาวาเอก หลวงพร้อมวีรพันธุ์ (พร้อม วีระพันธุ์) | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
นายเรือเอก เฉลิม สถิระถาวร | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
นายเรือโท ขัน วงศ์กนก | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
นายเรือตรี พรม รักษ์กิจ | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
นายเรือตรี สมัย จำปาสุต | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก ทองอยู่ เงี้ยวพ่าย | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก เอี้ยว อึ้งหลี | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก นวล เสี่ยงบุญ | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก ลบ นุดนา | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก ลำดวน ทัพพะเกตุ | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก ยู่เล้ง อาจสาคร | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก เพื่อน สุดสงวน | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก ชุน แซ่ฉั่ว | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
พันจ่าเอก เอ่ง แซ่ลิ้ม | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงธนบุรี | [2] |
จ่าเอก นาค เจริญศุข | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงสงขลา | [2] |
จ่าเอก วงศ์ ชุ่มใจ | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงสงขลา | [2] |
พันจ่าเอก ป่อไล้ แซ่เฮง | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงชลบุรี | [2] |
จ่าตรี ชาญ ทองคำ | กองทัพเรือ | 26 ส.ค. 2484 | กรณีพิพาทอินโดจีน | ทหารประจำเรือหลวงชลบุรี | [2] |
นายพันเอก ขุนอิงคยุทธบริหาร (ทองสุก อิงคกุล) | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
นายร้อยตรี วิเชียร อินทสงค์ | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
จ่านายสิบเอก เอื่อน ทวาย | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
พลทหาร วงส์ ชูรอด | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
พลทหาร เติม ลูกเสือ | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
พลทหาร ฟ่อง สุทธิ | กองทัพบก | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3][4] | |
พันจ่าอากาสเอก สมพงส์ แนวบันทัด | กองทัพอากาส | 19 ธ.ค. 2485 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [3] | |
พลโท จิระ วิชิตสงคราม | กองทัพพายัพ | 24 พ.ย. 2486 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | อดีตแม่ทัพกองทัพพายัพ | [5] |
จอมพล แปลก พิบูลสงคราม | กองบัญชาการทหารสูงสุด | 25 เม.ย. 2487 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | [6] |
เรืออากาศเอก วาสน์ สุนทรโกมล | กองทัพอากาศ | 8 ม.ค. 2488 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [7] | |
พันจ่าอากาศตรี ธาดา เบี้ยวไข่มุข | กองทัพอากาศ | 8 ม.ค. 2488 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [7] | |
พันจ่าอากาศตรี จุลดิศ เดชกุญชร | กองทัพอากาศ | 8 ม.ค. 2488 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | [7] | |
นาวาอากาศตรี เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร | กองทัพอากาศ | 8 ม.ค. 2488 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | พระราชทานช่อชัยพฤกษ์ประดับแพรแถบเหรียญกล้าหาญ | [7] |
เรืออากาศเอก คำรบ เปล่งขำ | กองทัพอากาศ | 8 ม.ค. 2488 | สงครามมหาเอเชียบูรพา | พระราชทานช่อชัยพฤกษ์ประดับแพรแถบเหรียญกล้าหาญ, เดิมชื่อ ทองคำ เปล่งขำ | [7] |
ในรัชกาลที่ 9[แก้]
ชั้นยศ-ชื่อ-นามสกุล | สังกัด | วันที่ประกาศ ชื่อผู้รับพระราชทาน | ปฏิบัติการครั้งที่ได้รับพระราชทาน | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|
ร้อยโท พีรพล โชติช่วง | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [8] | |
สิบตรี สติม กะสวยทอง | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [8] | |
พลทหาร ชุมพล สีทา | กองทัพบก | 25 ก.ค. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [8] | |
พันตรี จำเนียร พงศ์ไพโรจน์ | กองทัพบก | 11 ก.ย. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [9] | |
ร้อยโท เรือ สุมะโน | กองทัพบก | 11 ก.ย. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [9] | |
ร้อยโท จำเนียร มีสง่า | กองทัพบก | 11 ก.ย. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [9] | |
จ่าสิบเอก ยอดชาย มัจฉากร่ำ | กองทัพบก | 11 ก.ย. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [9] | |
สิบตรี ผิน มาลีเนตร | กองทัพบก | 11 ก.ย. 2494 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [9] | |
สิบตรี ประเสริฐ รักษ์จันทร์ | กองทัพบก | 1 เม.ย. 2495 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [10] | |
พันโท อ่อง โพธิกนิษฐ | กองทัพบก | 2 เม.ย. 2496 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [11] | |
ร้อยโท เฉลิม ศิริบุญ | กองทัพบก | 2 ต.ค. 2496 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [12] | |
สิบเอก ธรรมนูญ สมหวัง | กองทัพบก | 2 ต.ค. 2496 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [12] | |
ร้อยตรี วิเชียร กาญจนะวงศ์ | กองทัพบก | 27 พ.ย. 2496 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [13] | |
ร้อยโท วิเชียร สังขไพรวัน | กองทัพบก | 11 พ.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [14] | |
จ่าสิบเอก นพ วิบูลย์พาชย์ | กองทัพบก | 11 พ.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [14] | |
สิบโท ทองอยู่ โฉมสิริ | กองทัพบก | 11 พ.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [14] | |
สิบตรี โชติ สรรค์ประเสริฐ | กองทัพบก | 11 พ.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [14] | |
พลทหาร จือรักษ์ กิจประชุม | กองทัพบก | 11 พ.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [14] | |
ร้อยเอกประเสริฐ สิงหกุล | กองทัพบก | 18 ก.ย. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [15] | |
พันโท ผาติ ยศไกร | กองทัพบก | 20 ต.ค. 2497 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [16] | |
พันตรี จวน วรรณรัตน์ | กองทัพบก | 6 เม.ย. 2498 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [17] | |
ร้อยเอก อรรคพล สมรูป | กองทัพบก | 6 เม.ย. 2498 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [17] | |
สิบตรี สงวน ศรีเรืองสิน | กองทัพบก | 6 เม.ย. 2498 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [17] | |
พลทหาร ทองเจือ ฉายปัญญา | กองทัพบก | 6 เม.ย. 2498 | การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี | [17] | |
พลตรี สุจิณณ์ มงคลคำนวณเขตต์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พันเอก สุพร สิทธิมงคล | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พันโท คำรณ เหมนิธิ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พันตรี ณรงค์ กิตติขจร | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พันตรี ยุทธนา แย้มพันธ์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก วัฒนา สรรพานิช | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก วิชัย ขันติรัตน์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก ประสิทธิ์ โยธีพิทักษ์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก วิรัช แตงน้อย | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก สมพงษ์ โกมลวิภาต | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยเอก อรุณ อุ่นเจริญ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยโท กัมพล ผลผดุง | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยโท สมพล ชุณหะนันทน์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยโท ประเวทย์ ทองสุข | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยโท อำนาจ เรืองคุณะ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
ร้อยโท พนัส สัตย์เจริญ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
จ่าสิบเอก แดงต้อย สำราญเริง | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
จ่าสิบเอก สงัด ไทยรัฐเทวินทร์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
จ่าสิบเอก ประยูร พุฒจรูญ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก แสวง พรสวัสดิ์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก สำราญ มีจ่าย | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก สมมาตย์ น้อยพยัคฆ์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก วิชัย นุชรักษา | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก เกษนันท์ สระทองเอื้อ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก ไสว บุญทับ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบเอก สุนทร พัดสงค์ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบตรี สุวิรัช ประทีปช่วง | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
สิบตรี สุบรรณ อินทรลี | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พลทหาร สุคนธ์ ประวัติ | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
เรืออากาศโท อนาวิล ภักดีจิตต์ | กองทัพอากาศ | 8 มี.ค. 2512 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [18] | |
พันตรี บุญเชาว์ เล็กชะอุ่ม | กองทัพบก | 8 มี.ค. 2512 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [18] | |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | กองทัพบก | 12 มิ.ย. 2515 | ปฏิบัติหน้าที่ในการสู้รบกับอริราชศัตรูด้วยความเสียสละ เสี่ยงอันตรายต่อชีวิตด้วยความองอาจกล้าหาญ ทั้งในราชการสงครามและในภาวะฉุกเฉิน เป็นเวลาหลายครั้งหลายคราว | พระราชทานเหรียญกล้าหาญ ประดับช่อชัยพฤกษ์ | [19] |
พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ | กองทัพอากาศ | 30 เม.ย. 2516 | การเจรจาและนำกลุ่มโจรปาเลสไตน์ที่ยึดสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2515 เดินทางออกไปนอกประเทศได้เป็นผลสำเร็จ | [20] | |
พลจัตวา ชาติชาย ชุณหะวัณ | กองทัพบก | 30 เม.ย. 2516 | การเจรจาและนำกลุ่มโจรปาเลสไตน์ที่ยึดสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2515 เดินทางออกไปนอกประเทศได้เป็นผลสำเร็จ | [20] | |
พันเอก ไชยยง โพธิ์อุไร | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
พันตรี ชูชาติ วณีสอน | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยเอก สุธี เสลา | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยเอก พงษ์เทพ เทศประทีป | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยเอก ไพบูลย์ จึงสำราญ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยโท ทองชุบ แก้วมีศรี | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยโท สมศักดิ์ สิงห์ห่วง | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยโท กำพล แจ่มมิน | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยตรี ประยุทธ มีสิน | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
จ่าสิบเอก ศักดิ์ครินทร์ อินทุภูติ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
จ่าสิบตรี ประสาน กิตติรัตน์ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
จ่าสิบตรี ยงยุทธ ยอดยิ่ง | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
จ่าสิบตรี ถมปัทม์ คมขำ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
พันตำรวจเอก รัตน์ พรหมโมบล | กรมตำรวจ | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
พันตำรวจโท วิจัย สวัสดิ์เกียรติ | กรมตำรวจ | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
พันตำรวจตรี เสนาะ บำรุงเทียน | กรมตำรวจ | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
ร้อยตำรวจเอก ไพรินทร์ บุญยะผลึก | กรมตำรวจ | 17 ก.ย. 2519 | ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ | [21] | |
พันตรี สว่าง โสภณ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [22] | |
ร้อยเอก สนธิ เมียนกำเนิด | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [22] | |
ร้อยเอก ทวี เชื่อหน่าย | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [22] | |
จ่าสิบเอก ทองสุข เจริญขำ | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [22] | |
พลทหาร หิน แสงนอก | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [22] | |
พันตรี วีระ วะนะสุข | กองทัพบก | 17 ก.ย. 2520 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [22] | |
พันตรี หาญ เพไทย | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [23] | |
จ่าสิบเอก ชาญณรงค์ เทวายะนะ | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [23] | |
พลทหาร เฉลิม น้อยราช | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [23] | |
พลทหาร ชัด ณ ทองก้อน | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [23] | |
จ่าสิบเอก ยิ่งยศ ศรีเจริญ | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [23] | |
จ่าสิบเอก สนั่น ราชมุณีสุข | กองทัพบก | 20 มี.ค. 2521 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [23] | |
ร้อยตรี บุญเหลือ ทองคัณฑา | กองทัพบก | 28 พ.ค. 2524 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [24] | |
นาวาอากาศเอก เฉลิม เอี่ยมแจ้งพันธ์ | กองทัพอากาศ | 28 พ.ค. 2524 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [24] | |
นาวาอากาศโท ชาญชัย มหากาญจน์ | กองทัพอากาศ | 28 พ.ค. 2524 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [24] | |
นาวาอากาศโท สัมฤทธิ์ มั่งมี | กองทัพอากาศ | 28 พ.ค. 2524 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [24] | |
พลเอก อิทธิ สิมารักษ์ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม | [25] | |
สิบเอก บุญเลิศ เพ็ชรมี | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [25] | |
นาวาอากาศโท สนั่น มณีกุล | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [25] | |
พลอากาศโท วันชัย พิไลพงศ์ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง | [25] | |
นาวาอากาศตรี สุรัตน์ สุวรรณประเสริฐ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง | [25] | |
เรืออากาศเอก ปิยะพงษ์ อุทัยพงษ์ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง | [25] | |
จ่าอากาศเอก อนันต์ นิลสุ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง | [25] | |
จ่าอากาศเอก พงศ์เทพ พันธ์ประสิทธิ์ | กองทัพอากาศ | 12 ก.พ. 2525 | การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง | [25] | |
ร้อยตรี สนิท เพ็งเจริญ | กองทัพบก | 13 ก.ย. 2525 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [26] | |
เรืออากาศเอก ชาญชัย วิมุกตะลพ | กองทัพอากาศ | 1 พ.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด | [27] | |
เรืออากาศโท อรณพ เมนะรุจิ | กองทัพอากาศ | 1 พ.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด | [27] | |
พันจ่าอากาศเอก วรวุฒิ เสมาเงิน | กองทัพอากาศ | 1 พ.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด | [27] | |
จ่าอากาศเอก อำนาจ เหล็งบำรุง | กองทัพอากาศ | 1 พ.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด | [27] | |
พันตรี ทวีป เก็บเงิน | กองทัพบก | 25 มิ.ย. 2528 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [28] | |
ร้อยตรี สุระศักดิ์ โกศินานนท์ | กองทัพบก | 25 มิ.ย. 2528 | การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [28][29] | |
พันตรี อัคพล จิตระพรหมา | กองทัพบก | 25 มิ.ย. 2528 | การทำลายแหล่งผลิตยาเสพติด | [28] | |
ร้อยเอก สุรเทพ ชลายนนาวิน | กองทัพบก | 25 มิ.ย. 2528 | การทำลายแหล่งผลิตยาเสพติด | [28] | |
ร้อยตรี สมชาย แวงวงษ์ | กองทัพบน | 25 มิ.ย. 2528 | การทำลายแหล่งผลิตยาเสพติด | [28] | |
นาวาอากาศตรี อาคม กาญจนหิรัญ | กองทัพอากาศ | 22 ต.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ | [30] | |
เรืออากาศตรี วศิน อู่ศิริ | กองทัพอากาศ | 22 ต.ค. 2528 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ | [30] | |
นาวาอากาศเอก ประพัฒน์ วีณะคุปต์ | กองทัพอากาศ | 25 มิ.ย. 2529 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ | [31] | |
นาวาอากาศตรี วัฒนา ลับไพรี | กองทัพอากาศ | 25 มิ.ย. 2529 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ | [31] | |
พันเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร | กองทัพบก | 14 ม.ค. 2530 | การสู้รบกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ | [32] | |
ร้อยเอก วัฒนชัย คุ้มครอง | กองทัพบก | 10 ก.พ. 2530 | การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก | [33] | |
ร้อยโท สุรสิทธิ์ ประกอบสุข | กองทัพบก | 10 ก.พ. 2530 | การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก | [33] | |
ร้อยโท สุพจน์ มาลานิยม | กองทัพบก | 10 ก.พ. 2530 | การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก | [33] | |
จ่าสิบเอก อัฏฐมิพล สรรพอาสา | กองทัพบก | 10 ก.พ. 2530 | การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก | [33] | |
นาวาอากาศตรี สุรศักดิ์ บุญเปรมปรีดิ์ | กองทัพอากาศ | 10 ก.พ. 2530 | การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก | [33] | |
นาวาอากาศตรี ชวินทร์ วงศ์ทองสงวน | กองทัพอากาศ | 16 มิ.ย. 2531 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [34] | |
นาวาอากาศตรี เจริญ บำรุงบุญ | กองทัพอากาศ | 16 มิ.ย. 2531 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [34] | |
นาวาอากาศตรี สุรศักดิ์ บุญเปรมปรีดิ์ | กองทัพอากาศ | 16 มิ.ย. 2531 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | พระราชทานช่อชัยพฤกษ์ ประดับแพรแถบเหรียญกล้าหาญ | [34] |
นาวาอากาศโท สมนึก เยี่ยมสถาน | กองทัพอากาศ | 10 ก.พ. 2532 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญเพื่อป้องกันอธิปไตย และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [35] | |
นาวาอากาศตรี ธีรพงษ์ วรรณสำเริง | กองทัพอากาศ | 10 ก.พ. 2532 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญเพื่อป้องกันอธิปไตย และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [35] | |
เรืออากาศเอก ไพโรจน์ เป้าประยูร | กองทัพอากาศ | 10 ก.พ. 2532 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญเพื่อป้องกันอธิปไตย และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [35] | |
เรืออากาศโท ณฤทธิ์ สุดใจธรรม | กองทัพอากาศ | 10 ก.พ. 2532 | กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญเพื่อป้องกันอธิปไตย และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [35] | |
พลอากาศเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี | กองทัพอากาศ | 12 มี.ค. 2534 | ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด โดยยอมเอาชีวิตเข้าแลกเพื่อกระทำการให้สำเร็จสมความมุ่งหมายของทางราชการ | [36] | |
เรือเอก ประทีป อนุมณี | กองทัพเรือ | 29 ก.ค. 2543 | ต่อสู้โจรก่อการร้ายในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสจนได้รับบาดเจ็บสาหัส | [37] | |
จ่าสิบเอก สวงค์ อิ่มแล่ม | กองทัพบก | 29 ก.ค. 2543 | ปฏิบัติหน้าที่กรณีกองกำลังไม่ทราบฝ่ายรุกล้ำอธิปไตยในพื้นที่จังหวัดตากจนเสียชีวิต | พระราชทานแก่นางสาวจิรภา อิ่มแล่ม ทายาทของจ่าสิบเอก สวงค์ อิ่มแล่ม | [37] |
สิบโท วิรุณ รมวิเชียร | กองทัพบก | 1 ก.ย. 2552 | ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2549 จนได้รับบาดเจ็บสาหัส | [38] | |
สิบตรี มาโนชญ์ หนูคงใหม่ | กองทัพบก | 1 ก.ย. 2552 | ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2549 | [38] | |
พันเอก อุทัย ทองไฝ | กองทัพบก | 1 ก.ย. 2552 | ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2549 จนเสียชีวิต | พระราชทานแก่นายธัญญากรณ์ ทองไฝ ทายาทของพันเอก อุทัย ทองไฝ | [38] |
ร้อยตรี อนันต์ คงเลิศ | กองทัพบก | 1 ก.ย. 2552 | ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2549 จนเสียชีวิต | พระราชทานแก่เด็กชายสมโภชน์ คงเลิศ ทายาทของร้อยตรี อนันต์ คงเลิศ | [38] |
พลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ | 13 มี.ค. 2556 | ถูกกลุ่มคนร้ายลอบวางระเบิดเสียชีวิตขณะสืบสวนหาข่าวในพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2553 | อดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา, พระราชทานแก่สิบตำรวจเอก โรจนินทร์ ภูวพงษ์พิทักษ์ ทายาทของพลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา | [39] |
พันตรี สมศักดิ์ เขียนวงศ์ | กองทัพบก | 10 พ.ค. 2559 | เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยการปะทะกับกลุ่ม ผู้ก่อเหตุความรุนแรง ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ขณะทำการลาดตระเวน ในพื้นที่บ้านบาโงปูโล๊ะ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2550 | อดีตเสมียนยุทธการ สังกัดกองร้อยลาดตระเวนระยะไกล กองพลทหารม้าที่ 1, พระราชทานแก่ เด็กชายจิรพงศ์ เขียนวงศ์ ทายาทของ พันตรี สมศักดิ์ เขียนวงศ์ | [40] |
หน่วยทหาร[แก้]
นอกจากการพระราชทานเหรียญกล้าหาญแก่บุคคลต่างๆ แล้ว ยังมีการพระราชทานเหรียญกล้าหาญแก่หน่วยทหารจำนวนหนึ่ง ซึ่งประกอบวีรกรรมในการรบและสงครามต่างๆ ดังนี้
- 29 เมษายน พ.ศ. 2484 - กองพันทหารราบที่ 3 กองทัพด้านบูรพา[41] (ปัจจุบันคือกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์)
- 29 เมษายน พ.ศ. 2484 - กองพันทหารราบที่ 6 กองทัพด้านบูรพา[41] (ปัจจุบันคือกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์)
- 29 เมษายน พ.ศ. 2484 - กองพันทหารราบที่ 8 กองทัพด้านบูรพา[41] (ปัจจุบันคือกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์)
- 29 เมษายน พ.ศ. 2484 - กองพันทหารราบที่ 21 กองทัพด้านอีสาน[41] (ปัจจุบันคือกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 13)
- 26 สิงหาคม พ.ศ. 2484 - เรือหลวงธนบุรี (พร้อมกับกำลังพลของเรือหลวงธนบุรี จำนวน 14 นาย)[2]
- 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 - กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์[42]
- 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 - กองบิน 5 กองทัพอากาศ[43]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 1.20 1.21 1.22 1.23 1.24 1.25 1.26 1.27 1.28 1.29 1.30 1.31 1.32 1.33 1.34 1.35 1.36 1.37 1.38 1.39 1.40 แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16 2.17 2.18 "แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ. 26 สิงหาคม 2484" ราชกิจจานุเบกษา. 58 (2 กันยายน 2484) : 2810-2811.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/D/081/3149_1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2509/D/118/243.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัถมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียนกล้าหาน. เล่ม 60, ตอนที่ 63, วันที่ 30 พรีสจิกายน 2486, หน้า 3704-3705.
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2487/D/026/717.PDF
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/D/007/138.PDF
- ↑ 8.0 8.1 8.2 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/046/2935.PDF
- ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/058/3969.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2495/D/025/959.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/025/1697.PDF
- ↑ 12.0 12.1 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/065/4045.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/076/5185_1.PDF
- ↑ 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/032/1255.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/061/2131.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/071/2415.PDF
- ↑ 17.0 17.1 17.2 17.3 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/029/881.PDF
- ↑ 18.00 18.01 18.02 18.03 18.04 18.05 18.06 18.07 18.08 18.09 18.10 18.11 18.12 18.13 18.14 18.15 18.16 18.17 18.18 18.19 18.20 18.21 18.22 18.23 18.24 18.25 18.26 18.27 18.28 18.29 18.30 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/D/033/1498.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/D/092/25.PDF
- ↑ 20.0 20.1 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/D/057/28.PDF
- ↑ 21.00 21.01 21.02 21.03 21.04 21.05 21.06 21.07 21.08 21.09 21.10 21.11 21.12 21.13 21.14 21.15 21.16 21.17 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/D/114/24.PDF
- ↑ 22.0 22.1 22.2 22.3 22.4 22.5 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/D/088/42.PDF
- ↑ 23.0 23.1 23.2 23.3 23.4 23.5 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2521/D/037/16.PDF
- ↑ 24.0 24.1 24.2 24.3 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/086/51.PDF
- ↑ 25.0 25.1 25.2 25.3 25.4 25.5 25.6 25.7 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/024/8.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/135/16.PDF
- ↑ 27.0 27.1 27.2 27.3 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2528/D/059/2275.PDF
- ↑ 28.0 28.1 28.2 28.3 28.4 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2528/D/087/37.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2528/D/147/5152_1.PDF
- ↑ 30.0 30.1 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2528/D/162/5458.PDF
- ↑ 31.0 31.1 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/D/111/2.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ (พันเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร) , เล่ม ๑๐๔, ตอน ๖ ง ฉบับพิเศษ, ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐, หน้า ๑
- ↑ 33.0 33.1 33.2 33.3 33.4 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/D/023/1.PDF
- ↑ 34.0 34.1 34.2 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/D/103/4962.PDF
- ↑ 35.0 35.1 35.2 35.3 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/029/1349.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/029/1349.PDF
- ↑ 37.0 37.1 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2545/B/012/14.PDF
- ↑ 38.0 38.1 38.2 38.3 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2545/B/012/14.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเหรียญกล้าหาญ หน้า ๔ เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๑๑ ข, ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/B/015/3.PDF
- ↑ 41.0 41.1 41.2 41.3 ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญประดับธงชัยเฉลิมพล. เล่ม ๕๘, ตอน ๐ ง, ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๔, หน้า ๙๑๓.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญประดับธงไชยเฉลิมพล. เล่ม ๙๓, ตอน ๘๐, ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๙, หน้า ๑๓๖๐.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ. เล่ม ๑๒๗, ตอน ๑๑ ข, ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓, หน้า ๗.