รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย
ผู้บัญชาการทหารบก | |
---|---|
![]() เครื่องหมายราชการ | |
![]() ธงประจำตำแหน่ง | |
สมาชิกของ | วุฒิสภาไทย |
ผู้เสนอชื่อ | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | นายพลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ ในฐานะ เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยบัญชาการทหารบก |
สถาปนา | เมษายน พ.ศ. 2430 |
รอง | รองผู้บัญชาการทหารบก |
รายพระนามและชื่อ ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไทย
กองทัพบกไทย[แก้]
กองทัพบกไทย (Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุด และมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปีพุทธศักราช 2417 เหตุผลส่วนหนึ่งคือ เพื่อรับมือกับการคุกคามรุกแบบใหม่จากอังกฤษ ภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง โดยเจ้าพนักงานใหญ่พระองค์แรกคือ พลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ (พระยศในขณะนั้น) ดำรงตำแหน่ง 3 ปี และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งเป็น กรมทหารบก, กรมยุทธนาธิการ, เสนาบดีกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารบก ตามลำดับ
รายนาม[แก้]
เจ้าพนักงานใหญ่ | ||||
ลำดับ | รูป | ชื่อ | วาระ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
พลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ | เมษายน พ.ศ. 2430 – เมษายน พ.ศ. 2433 | |
กรมทหารบก | ||||
ลำดับ | รูป | ชื่อ | วาระ | หมายเหตุ |
2 | ![]() |
จอมพล พระยาสุรศักดิ์มนตรี | เมษายน พ.ศ. 2433 – มีนาคม พ.ศ. 2435 | |
กรมยุทธนาธิการ | ||||
ลำดับ | รูป | พระนาม | วาระ | หมายเหตุ |
3 | ![]() |
จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช | เมษายน พ.ศ. 2435 – มีนาคม พ.ศ. 2439 | |
เมษายน พ.ศ. 2442 – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444 | ||||
4 | ![]() |
พลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ | มีนาคม พ.ศ. 2439 – เมษายน พ.ศ. 2442 | |
5 | ![]() |
จอมพล พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช | 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 | |
เสนาบดีกระทรวงกลาโหม | ||||
ลำดับ | รูป | ชื่อ | วาระ | หมายเหตุ |
5 | ![]() |
จอมพล พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 | |
6 | ![]() |
จอมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (อรุณ) | 1 เมษายน พ.ศ. 2457 [1] – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 | |
7 | ![]() |
พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม) | 1 เมษายน พ.ศ. 2465 [2] – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 | |
8 | ![]() |
จอมพล สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469[3] – 31 มีนาคม พ.ศ. 2471 | |
9 | ![]() |
พลเอก หม่อมเจ้าบวรเดช | 25 ตุลาคม พ.ศ. 2471[4] – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474 | |
- | ![]() |
พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ | 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474 [5] – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 | รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม (ปัจจุบันใช้คำว่า รักษาราชการแทน) |
10 | ![]() |
พลเรือเอก พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมขุนสิงหวิกรมเกรียงไกร | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474[6] – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 | |
ผู้บัญชาการทหารบก | ||||
ลำดับ | รูป | ชื่อ | วาระดำรงตำแหน่ง | หมายเหตุ |
11 | ![]() |
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา | 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475[7] – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476[8] | |
24 มิถุนายน พ.ศ. 2476[9] – 4 มกราคม พ.ศ. 2481[10] | ||||
24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 [11] – 29 มีนาคม พ.ศ. 2489 | ||||
12 | ![]() |
พลตรี หลวงพิบูลสงคราม (ชื่อถึงก.ค. 2484) จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (ชื่อหลังก.ค. 2484) |
4 มกราคม พ.ศ. 2481[12] – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2487 | |
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | ||||
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 | ||||
13 | ![]() |
พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต | 6 สิงหาคม พ.ศ. 2487 – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 | |
14 | ![]() |
พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส | 26 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | |
15 | ![]() |
พลเอก ผิน ชุณหะวัณ | 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 – 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497 | |
16 | ![]() |
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ | 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 | ถึงแก่อสัญกรรม |
17 | ![]() |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 | |
18 | ![]() |
จอมพล ประภาส จารุเสถียร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 | |
19 | ![]() |
พลเอก กฤษณ์ สีวะรา | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 – 30 กันยายน พ.ศ. 2518 | |
20 | ![]() |
พลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 – 30 กันยายน พ.ศ. 2519 | |
21 | ![]() |
พลเอก เสริม ณ นคร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2521 | |
22 | ![]() |
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2524 | |
23 | ![]() |
พลเอก ประยุทธ จารุมณี | 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2525 | |
24 | ![]() |
พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2525 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 | ถูกปลดออกจากตำแหน่ง |
25 | ![]() |
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2533 | ลาออกจากตำแหน่ง |
26 | ![]() |
พลเอก สุจินดา คราประยูร | 29 มีนาคม พ.ศ. 2533 – 6 เมษายน พ.ศ. 2535 | ลาออกจากตำแหน่งเพื่อรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี |
27 | ![]() |
พลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี | 7 เมษายน พ.ศ. 2535 – 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 | ถูกย้ายไปเป็นรองปลัดกระทรวงกลาโหม |
28 | ![]() |
พลเอก วิมล วงศ์วานิช | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2535 – 30 กันยายน พ.ศ. 2538 | |
29 | ![]() |
พลเอก ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 – 30 กันยายน พ.ศ. 2539 | |
30 | ![]() |
พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 30 กันยายน พ.ศ. 2541 | |
31 | ![]() |
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541 – 30 กันยายน พ.ศ. 2545 | |
32 | ![]() |
พลเอก สมทัต อัตตะนันทน์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 – 30 กันยายน พ.ศ. 2546 | |
33 | ![]() |
พลเอก ชัยสิทธิ์ ชินวัตร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547 | |
34 | ![]() |
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – 30 กันยายน พ.ศ. 2548 | |
35 | ![]() |
พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548 – 30 กันยายน พ.ศ. 2550 | |
36 | ![]() |
พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553 | |
37 | ![]() |
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2557 | |
38 | ![]() |
พลเอก อุดมเดช สีตบุตร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558 | |
39 | ![]() |
พลเอก ธีรชัย นาควานิช | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
40 | ![]() |
พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 | |
41 | ![]() |
พลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 30 กันยายน พ.ศ. 2563 | |
42 | ![]() |
พลเอก ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - 30 กันยายน พ.ศ. 2566 | |
43 | ![]() |
พลเอก เจริญชัย หินเธาว์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - ปัจจุบัน | รักษาการ 12-30 กันยายน 2566 |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ 2019-12-09.
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและเสนาธิการทหารบก" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดี และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
- ↑ แจ้งความประธานคณะกรรมการราษฎร
- ↑ ประกาศ เรื่อง นายทหารขอลาออกจากประจำการ
- ↑ ประกาศ เรื่อง ตั้งนายทหารเข้าประจำการ เลื่อน ย้ายและปลดเป็นกองหนุน
- ↑ ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนตัวผู้บัญชาการทหารบกและแม่ทัพบก
- ↑ ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก
ดูเพิ่ม[แก้]
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
- รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย
- รายชื่อผู้บัญชาการทหารเรือไทย
- รายชื่อผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
- รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย
- รายชื่อสมุหราชองครักษ์ของไทย
- รายนามแม่ทัพภาคที่ 1
- รายนามแม่ทัพภาคที่ 2
- รายนามแม่ทัพภาคที่ 3
- รายนามแม่ทัพภาคที่ 4
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- ทำเนียบผู้บังคับบัญชา เก็บถาวร 2018-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน