จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน673,013
ผู้ใช้สิทธิ81.93%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 4
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 ลดลง3
คะแนนเสียง 174,818 101,862 94,343
% 34.68 20.21 18.71

  Fourth party
 
พรรค ชาติไทยพัฒนา
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1
คะแนนเสียง 1,440
% 0.29

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ[1] ว่าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีจากพรรคพลังประชารัฐจำนวน 3 ราย คือ เขต 1 คือ กุลวลี นพอมรบดี บุตรสาวนายมานิต นพอมรบดี และนางกอบกุล นพอมรบดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี, เขต 2 คือ บุญยิ่ง นิติกาญจนา ประธานสโมสรราชบุรี มิตรผล เอฟซี[2] และเขต 3 คือ ปารีณา ไกรคุปต์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีหลายสมัย และบุตรสาวของนายทวี ไกรคุปต์ พรรคประชาธิปัตย์ในเขต 4 คือ อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ และพรรคภูมิใจไทยในเขต 5 คือ บุญลือ ประเสริฐโสภา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นที่น่าสังเกตว่า พรรคภูมิใจไทย ซึ่งมีฐานเสียงเดิมในจังหวัดราชบุรีที่มีแกนนำอย่างนายสรอรรถ กลิ่นประทุม ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไทย มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลดลงในจังหวัดราชบุรี และท้ายที่สุดคะแนนเสียงของพรรคอนาคตใหม่มีมากจนติดสามอันดับแรกในเกือบทุกเขตเลือกตั้ง

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 5 174,818 34.68% 3 เพิ่มขึ้น3 60.00%
ประชาธิปัตย์ 5 101,862 20.21% 1 เพิ่มขึ้น1 20.00%
ภูมิใจไทย 5 94,343 18.71% 1 ลดลง3 20.00%
ชาติไทยพัฒนา 5 1,440 0.29% 0 ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 113 131,663 26.12% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 133 504,126 100.00% 5 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
34.68%
ประชาธิปัตย์
  
20.21%
ภูมิใจไทย
  
18.71%
ชาติไทยพัฒนา
  
0.29%
อื่น ๆ
  
26.12%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
60.00%
ประชาธิปัตย์
  
20.00%
ภูมิใจไทย
  
20.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 174,818 34.68% เพิ่มขึ้น34.68%
ประชาธิปัตย์ 213,252 45.16% 101,862 20.21% ลดลง24.95%
ภูมิใจไทย 48,425 10.25% 94,343 18.71% เพิ่มขึ้น8.46%
เพื่อไทย 151,681 32.12% ลดลง32.12%
อื่น ๆ 58,885 12.47% 133,103 26.41% เพิ่มขึ้น13.94%
ผลรวม 472,243 100.00% 504,126 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 174,818 34.68% เพิ่มขึ้น34.68%
ประชาธิปัตย์ 137,240 29.32% 101,862 20.21% ลดลง9.11%
ภูมิใจไทย 143,303 30.62% 94,343 18.71% ลดลง11.91%
ชาติไทยพัฒนา 44,538 9.52% 1,440 0.29% ลดลง9.23%
เพื่อไทย 140,871 30.10% ลดลง30.10%
อื่น ๆ 2,084 0.45% 131,663 26.12% เพิ่มขึ้น25.67%
ผลรวม 468,036 100.00% 504,126 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตการเลือกตั้ง พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 39,158 38.78% 10,848 10.74% 24,214 23.98% 26,745 26.50% 100,965 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 40,030 40.01% 6,271 6.27% 30,592 30.58% 23,145 23.14% 100,038 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 46,409 45.52% 29,423 28.86% 1,407 1.38% 24,708 24.24% 101,947 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 4 32,677 31.90% 37,423 36.53% 705 0.69% 31,629 30.88% 102,434 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 5 16,544 16.75% 17,897 18.13% 37,425 37.90% 26,876 27.22% 98,742 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 174,818 34.68% 101,862 20.21% 94,343 18.71% 133,103 26.41% 504,126 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต [1][แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ กุลวลี นพอมรบดี (9) 39,158 38.78
ภูมิใจไทย เพียงเพ็ญ ศักดิ์สมบูรณ์ (8) 24,214 23.98
อนาคตใหม่ ศรราม พรหมากร (14) 18,196 18.02
ประชาธิปัตย์ กัลยา ศิริเนาวกุล (3) 10,848 10.74
เสรีรวมไทย วัณธ์เทวินทร เศวตรฐนโภคิน (6) 2,788 2.76
เศรษฐกิจใหม่ ประวิทย์ คงเพชร (22) 1,727 1.71
เพื่อชาติ ชญานี เสือเดช (2) 1,189 1.18
พลังธรรมใหม่ พันเอก ยุทธพงศ์ พิณประภัศร์ (11) 385 0.38
ชาติพัฒนา พนมกร กิจโพธิญาณ (7) 376 0.37
รวมพลังประชาชาติไทย วิรัตน์ เอกรุณ (13) 331 0.33
ประชาชนปฏิรูป กุลโรจน์ บุญเกิด (10) 266 0.26
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย พันโท วรเศรษฐ์ วสุวรเศรษฐ์ (4) 257 0.25
ประชาภิวัฒน์ ร้อยตำรวจเอก รัฐภูมิ โพธิ์ศรีดา (1) 234 0.23
ชาติไทยพัฒนา วราพงษ์ โพธิ์ทองคำ (18) 184 0.18
กรีน วิเชียร ชีนะ (17) 141 0.14
พลังท้องถิ่นไท สม อุตสาห์วัน (15) 127 0.13
ครูไทยเพื่อประชาชน ธำรงค์ พานิชเจริญ (19) 119 0.12
พลังชาติไทย ชไมพร พงษ์สุทัศน์ (21) 93 0.09
ประชานิยม สมพงค์ โซเซ็ง (12) 91 0.09
มหาชน เฉลียว เพิ่มผล (23) 64 0.06
แผ่นดินธรรม สุคุณวัต ศรีอำไพวิวัฒน์ (24) 52 0.05
ไทรักธรรม ทรงเกียรติ ไตรรัตน์รังษี (25) 49 0.05
ไทยรุ่งเรือง โสภณ ปภัสสรานนท์ (16) 42 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล กริษฐา สุวรรณหงษ์ (20) 34 0.03
ไทยรักษาชาติ ประวิทย์ ลิ้มเจริญ (5)
ผลรวม 100,965 100.00
บัตรดี 100,965
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,908 1.70
บัตรเสีย 5,047 4.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 112,564 82.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,830 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวัดเพลง อำเภอปากท่อ อำเภอบ้านคา อำเภอสวนผึ้ง และอำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ บุญยิ่ง นิติกาญจนา (11)* 40,030 40.01
ภูมิใจไทย พงษ์ศักดิ์ กิจประเสริฐ (4) 30,592 30.58
อนาคตใหม่ สมชาย สรสิทธิ์ (2) 14,597 14.59
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท สันทัด เจียมสกุล (7) 6,271 6.27
เสรีรวมไทย บุญชอบ ปิ่นทอง (3) 2,520 2.52
เพื่อชาติ เพียงพงศ์ ประเสริฐศักดิ์ (20) 972 0.97
เศรษฐกิจใหม่ พีรพัฒน์ คงเพ็ชร (22) 836 0.84
พลังธรรมใหม่ ทองพูน ช้างเพชร (5) 585 0.58
ชาติพัฒนา นิธิภัทร์ ชิณโชติวรสิทธิ์ (10) 554 0.55
กรีน เกรียงไกร ชีช่วง (17) 391 0.39
พลังท้องถิ่นไท โชคชัย ธนกิจพานิช (1) 374 0.37
มหาชน บุญธรรม ทินรุ่ง (24) 355 0.35
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เรืองยศ ตีวกุล (12) 324 0.32
รวมพลังประชาชาติไทย พันธุ์ทิพา ตั้งวิจิตรเจนการ (6) 249 0.25
พลังไทยรักชาติ สุธน สามเสน (25) 178 0.18
ครูไทยเพื่อประชาชน ละเอียด บุญเยาว์ (14) 172 0.17
ชาติไทยพัฒนา เด่น สุขอาษา (19) 168 0.17
ประชานิยม วัลลภ ผลบุณยรักษ์ (8) 152 0.15
ถิ่นกาขาวชาววิไล สิทธิชัย อรชร (21) 128 0.13
ไทยรุ่งเรือง บุญดี ทำสะอาด (18) 112 0.11
พลังชาติไทย อภิเดช ทุยประสิทธิ์ (23) 112 0.11
ไทรักธรรม บุญเสริม หอมฟุ้ง (27) 107 0.11
ประชาภิวัฒน์ มธุรส จีระ (13) 90 0.09
ประชาชนปฏิรูป วิเชียร พันหล่อมโส (16) 76 0.08
แผ่นดินธรรม ศศินันท์ รุ่งกิจเกียรติคุณ (15) 48 0.05
ประชากรไทย ดาวรุ่ง โตจิ๋ว (26) 45 0.04
ไทยรักษาชาติ เมธาวี หงษ์มนัส (9)
ผลรวม 100,038 100.00
บัตรดี 100,038
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,466 1.35
บัตรเสีย 6,899 6.36
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,403 83.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,784 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอจอมบึงและอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ปารีณา ไกรคุปต์ (13)* 46,409 45.52
ประชาธิปัตย์ ชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์ (9) 29,423 28.86
อนาคตใหม่ วรชาติ ภูมิอุไร (11) 15,621 15.32
เสรีรวมไทย ณัฐทนันต์ นิธิภณยางสง่า (10) 2,514 2.47
เพื่อชาติ สิบเอก ปริญญา ไพบูลย์สิทธิ์ (12) 1,526 1.50
ภูมิใจไทย กล้าหาญ เจริญธรรม (2) 1,407 1.38
เศรษฐกิจใหม่ จด แหยมศิริ (23) 1,076 1.06
ชาติไทยพัฒนา ประพันธ์ ประสิทธิ์กุล (3) 439 0.43
ครูไทยเพื่อประชาชน รัชภูมิ ทองลิ่ม (19) 437 0.43
ประชานิยม ฑิฆัมพร โปร่งจิต (8) 431 0.42
รวมพลังประชาชาติไทย ชิตพล เชี่ยวอุดมทรัพย์ (5) 375 0.37
ไทรักธรรม พิมพ์นารา เกิดทิน (29) 313 0.31
พลังธรรมใหม่ ลลิตา พุกโสภา (14) 274 0.27
ชาติพัฒนา ตระกูล โพธิ์เรือง (7) 242 0.24
พลังท้องถิ่นไท พันตรี ณรรรร์ สุภาพ (4) 222 0.22
ประชาภิวัฒน์ วีระ ทองเกิด (6) 194 0.19
พลังประชาธิปไตย วรายุ ภู่ระหงษ์ (15) 175 0.17
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย พิรัช รองรัตน์ (16) 141 0.14
พลังชาติไทย ร้อยตรี บุญปลูก ศรีประทุม (22) 136 0.13
ทางเลือกใหม่ ชาญสิทธิ์ คำเทศ (28) 118 0.12
ถิ่นกาขาวชาววิไล พงศภัค อุปถัมภ์ชาติ (21) 94 0.09
พลังไทยรักชาติ สุกัญญา ตันติธีระศักดิ์ (25) 78 0.08
ประชาชนปฏิรูป อนุวัฒน์ แก้วศิริ (18) 71 0.07
ภราดรภาพ สมพงษ์ พรมปั่น (20) 71 0.07
ไทยรุ่งเรือง ละออ ทำสะอาด (17) 61 0.06
มหาชน สายวาริน เพิ่มผล (24) 34 0.03
ประชากรไทย สนธยา สุคทิน (27) 33 0.03
แผ่นดินธรรม ธนะสุภา แก้วคำ (26) 32 0.03
ไทยรักษาชาติ ณัฏฐพัชร์ จันทร์แม้น (1)
ผลรวม 101,947 100.00
บัตรดี 101,947
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,016 1.78
บัตรเสีย 6,793 5.99
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 113,345 83.47
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 135,787 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทยพัฒนา

เขต 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบ้านโป่ง[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ (3) 37,423 36.53
พลังประชารัฐ ชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร (11)* 32,677 31.90
อนาคตใหม่ ภัคศุภางค์ เกียงวรางกูร (2) 23,520 22.96
เสรีรวมไทย ร้อยตรี อ้อย เพชรสน (1) 3,008 2.94
เศรษฐกิจใหม่ พยงค์ ทองปลาด (21) 1,265 1.23
ภูมิใจไทย สุวัฒน์ อภิกันตสิริ (5) 705 0.69
เพื่อชาติ วันทนา โอทอง (18) 570 0.56
ชาติไทยพัฒนา ภูเบศ โสดสงค์ (7) 565 0.55
ชาติพัฒนา พรรษวุฒิ ธาดาวิโรจน์ (10) 393 0.38
ประชาภิวัฒน์ วัฒนา ร่มโพธิ์ (4) 368 0.36
รวมพลังประชาชาติไทย พิทยา ไผ่กอ (15) 330 0.32
พลังชาติไทย บุญชู แก้วกระจ่าง (23) 290 0.28
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ศุภากร บุญจันทร์ (13) 265 0.26
พลังท้องถิ่นไท จันทราภรณ์ หาโอกาส (12) 186 0.18
พลังธรรมใหม่ ร้อยตรี พวน อินทร์ชำนาญ (9) 142 0.14
พลังประชาธิปไตย เสาวณีย์ นิ่มนุช (14) 142 0.14
ครูไทยเพื่อประชาชน สุบิน ชัยศิลป์ (19) 142 0.14
ประชาชนปฏิรูป ธนิติ สิริสิงห (17) 111 0.11
ถิ่นกาขาวชาววิไล อภิชาญ วัชรญาณวิสุทธิ์ (20) 69 0.07
มหาชน นันทิญา นโมโชค (22) 67 0.07
ไทรักธรรม ลัดดา ไตรรัตน์รังษี (25) 59 0.06
พลังสังคม ธนภรณ์ จันทรักรังษี (24) 58 0.06
ประชานิยม ร้อยตำรวจเอก เสน่ห์ เกตุแก้ว (6) 55 0.05
ไทยรุ่งเรือง พุทธชาติ มากลัด (16) 24 0.02
ไทยรักษาชาติ สุรพงษ์ เอี่ยมเอม (8)
ผลรวม 102,434 100.00
บัตรดี 102,434
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,819 1.66
บัตรเสีย 5,629 5.12
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,882 80.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 137,276 100
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอดำเนินสะดวก อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย บุญลือ ประเสริฐโสภา (2)✔ 37,425 37.90
ประชาธิปัตย์ ชัยโรจน์ เอกอัครอัญธรณ์ (1) 17,897 18.13
พลังประชารัฐ อภิญญา สว่างเมฆ (11) 16,544 16.75
อนาคตใหม่ พลกฤต ชื่นจิตร (8) 15,763 15.96
เสรีรวมไทย สมหมาย แท่นทรัพย์ (9) 3,665 3.71
เพื่อชาติ ธนาธาร สมบุญศรี (12) 1,741 1.76
เศรษฐกิจใหม่ สมศักดิ์ ศรีเอี่ยมกูล (22) 1,592 1.61
ชาติพัฒนา โชคชัย เอี่ยมภูมิ (5) 747 0.76
รวมพลังประชาชาติไทย สยาม นิลวัฒน์ (6) 530 0.54
พลังท้องถิ่นไท ธัญวิทย์ เกลี้ยงเกลา (3) 459 0.46
ประชานิยม ร้อยตำรวจโท ปรีชา พาด้วง (7) 446 0.45
ประชาภิวัฒน์ ประชุมพล สืบนุช (10) 422 0.43
ไทรักธรรม พชรณัฐ์ ฮ่วมแนะ (27) 222 0.22
ครูไทยเพื่อประชาชน สุดใจ ศรีสมพงษ์ (18) 213 0.22
ไทยรุ่งเรือง ชูเกียรติ แดงประสิทธิพร (16) 168 0.17
ถิ่นกาขาวชาววิไล พนม ภุมรินทร์ (21) 144 0.15
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย อัฐชัย เหมมณี (13) 135 0.14
พลเมืองไทย สุรศักดิ์ จงมโนประเสริฐ (19) 110 0.11
พลังธรรมใหม่ ฉัตรินทร์ มีสอน (15) 104 0.11
ประชาชนปฏิรูป วิชาติ เสกอ่วม (20) 97 0.10
ชาติไทยพัฒนา ราตรี เกิดมี (24) 84 0.09
พลังประชาธิปไตย วันเพ็ญ แก่นยางหวาย (14) 78 0.08
เพื่อแผ่นดิน ธนิดา โอบอ้อม (17) 63 0.06
มหาชน จรัส ช้างผึ้ง (23) 38 0.04
พลังชาติไทย ฑีฆายุ วันลา (25) 30 0.03
ประชากรไทย สุพรรณ โตจิ๋ว (26) 25 0.03
ไทยรักษาชาติ ธวัชชัย จตุรนต์รัศมี (4)
ผลรวม 98,742 100.00
บัตรดี 98,742
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,267 2.12
บัตรเสีย 6,168 5.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 107,185 80.39
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,336 100
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "ประกาศการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ ณ วันที่ 29 มีนาคม 2562" (PDF). สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-03-28. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. ออเจ้า "แม่บุญยิ่ง" พลังประชารัฐ เอฟซี? ข่าวสดออนไลน์ สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2561
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 101 ก. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]