จังหวัดสระแก้วในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสระแก้วในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน425,987
ผู้ใช้สิทธิ74.59%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ เพื่อไทย อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 3 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง3 Steady0
คะแนนเสียง 157,848 75,139 37,597
% 53.12 25.29 12.65

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 3 157,848 53.12% 3 เพิ่มขึ้น3 100.00%
เพื่อไทย 3 75,139 25.29% 0 ลดลง3 0.00%
อนาคตใหม่ 3 37,597 12.65% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 62 26,585 8.94% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 71 297,169 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
53.12%
เพื่อไทย
  
25.29%
อนาคตใหม่
  
12.65%
อื่น ๆ
  
8.94%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 157,848 53.12% เพิ่มขึ้น53.12%
เพื่อไทย 156,497 59.48% 75,139 25.29% ลดลง34.19%
อนาคตใหม่ 37,597 12.65% เพิ่มขึ้น12.65%
ประชาธิปัตย์ 85,297 32.42% 11,234 3.78% ลดลง28.64%
อื่น ๆ 21,312 8.10% 15,351 5.16% ลดลง2.94%
ผลรวม 263,106 100.00% 297,169 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 157,848 53.12% เพิ่มขึ้น53.12%
เพื่อไทย 179,583 69.32% 75,139 25.29% ลดลง44.03%
อนาคตใหม่ 37,597 12.65% เพิ่มขึ้น12.65%
ประชาธิปัตย์ 76,393 29.49% 11,234 3.78% ลดลง25.71%
อื่น ๆ 3,074 1.19% 15,351 5.16% เพิ่มขึ้น3.97%
ผลรวม 259,050 100.00% 297,169 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตการเลือกตั้ง พลังประชารัฐ เพื่อไทย อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 63,099 62.60% 19,097 18.95% 12,013 11.92% 6,595 6.53% 100,804 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 52,787 53.70% 21,901 22.28% 13,560 13.80% 10,044 10.22% 98,292 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 41,962 42.79% 34,141 34.81% 12,024 12.26% 9,946 10.14% 98,073 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 157,848 53.12% 75,139 25.29% 37,597 12.65% 26,585 8.94% 297,169 100.00%

เขตเลือกตั้ง[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสระแก้ว อำเภอเขาฉกรรจ์และอำเภอวังน้ำเย็น (เฉพาะตำบลทุ่งมหาเจริญ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสระแก้ว เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ฐานิสร์ เทียนทอง (1)* 63,099 62.60
เพื่อไทย สนธิเดช เทียนทอง (10) 19,097 18.95
อนาคตใหม่ ปิยพจน์ ตุลาชม (6) 12,013 11.92
ประชาธิปัตย์ อาทิติ งามวงษ์ (4) 2,754 2.73
เศรษฐกิจใหม่ บุญสิน จันทะสอน (14) 638 0.63
พลังชาติไทย วิมลศิริ พ่อค้า (21) 603 0.60
ภูมิใจไทย สุระพง ธรรมวรางกูร (13) 505 0.50
เพื่อชาติ บรรเจิด พัฒโนทัย (9) 477 0.47
รวมพลังประชาชาติไทย มานะ ล่าโสตร์ (3) 287 0.29
พลังท้องถิ่นไท ภัทรพล มานะสร้าง (12) 230 0.23
ประชาชนปฏิรูป ประสิทธิ์ ดวงแก้ว (2) 210 0.21
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ทองใบ ท่ามะณี (5) 181 0.18
ประชาธิปไตยใหม่ สุด เจริญดง (11) 167 0.17
กรีน ภวินท์ชาติ รัตนธรรม (17) 128 0.13
ครูไทยเพื่อประชาชน พรหมนาถ ถาวรชน (20) 117 0.12
ไทยศรีวิไลย์ วัชระศักดิ์ สมบัติ (15) 116 0.12
ประชาภิวัฒน์ ปานจิตร วรรณเจริญ (19) 48 0.05
ไทรักธรรม สุนทร บุญมั่น (23) 42 0.04
เพื่อแผ่นดิน คุณเดช บุญจันทร์ (16) 39 0.04
ประชาธรรมไทย ประเทือง พุทธสอาด (22) 37 0.04
พลังปวงชนไทย ภัทราพร แสงเพ็ง (18) 16 0.02
เพื่อนไทย เทียนทอง สิงห์รัก (7)
เสรีรวมไทย สุทธิรักษ์ วันเพ็ญ (8)
ผลรวม 100,804 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอคลองหาด อำเภอวังสมบูรณ์ อำเภอวังน้ำเย็น (ยกเว้นตำบลทุ่งมหาเจริญ) และอำเภอวัฒนานคร (ยกเว้นตำบลแซร์ออและตำบลช่องกุ่ม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสระแก้ว
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ตรีนุช เทียนทอง (10)* 52,787 53.70
เพื่อไทย พันตำรวจเอก พายัพ ทองชื่น (5) 21,901 22.28
อนาคตใหม่ ยุทธชัย รำไพวรรณ์ (6) 13,560 13.80
ประชาธิปัตย์ พลเอก ชวลิต สาลีติ๊ด (7) 4,204 4.28
เสรีรวมไทย อัคลีมา คลังเพชร (4) 1,973 2.01
เศรษฐกิจใหม่ ฐาปกรณ์ โนนศรีโคตร (14) 595 0.61
เพื่อชาติ ธัญยรัตน์ ไทชญานุวัฒน์ (9) 569 0.58
พลังท้องถิ่นไท พรผกาจิตร์ เพิ่มพิมพา (11) 475 0.48
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เลื่อน อินทร์ทิพย์ (1) 470 0.48
ภูมิใจไทย ศิริวรรณ บุญทัด (15) 411 0.42
รวมพลังประชาชาติไทย วรเชษฐ์ สิทธิจันทร์ (2) 252 0.26
ประชาธิปไตยใหม่ สมบูรณ์ ถายะเดช (8) 222 0.23
ไทยศรีวิไลย์ ศรราม ศรีคำ (13) 177 0.18
ครูไทยเพื่อประชาชน ณรงค์ ผ่องศรีนวล (21) 142 0.15
ประชาชนปฏิรูป ไสว แก้วภักดี (3) 128 0.13
พลังปวงชนไทย สมพร นิลสนธิ (19) 104 0.11
กรีน วัลลภ เอราวรรณ์ (17) 97 0.10
ประชาภิวัฒน์ จุฑาภัทร์ ทวีชาติ (20) 68 0.07
ไทรักธรรม อุ่น บุตรศรี (23) 65 0.07
เพื่อแผ่นดิน อัญชัญ บุศย์น้ำเพ็ชร (16) 52 0.05
ประชาธรรมไทย วิภาพร อุทก (18) 40 0.04
เพื่อนไทย ณฤดี ภัคพีรพงษ์ (12)
พลังชาติไทย วรพล อินทรกำแหง (22)
ผลรวม 98,292 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภออรัญประเทศ อำเภอโคกสูง อำเภอตาพระยาและอำเภอวัฒนานคร (เฉพาะตำบลแซร์ออและตำบลช่องกุ่ม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสระแก้ว
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สุรศักดิ์ ชิงนวรรณ์ (7) 41,962 42.79
เพื่อไทย สรวงศ์ เทียนทอง (1)* 34,141 34.81
อนาคตใหม่ สุนันทรัตน์ มุกตรี (6) 12,024 12.26
ประชาธิปัตย์ พรพล เอกอรรถพร (8) 4,276 4.36
เสรีรวมไทย ดรุณี ประยูรวงษ์ (5) 1,790 1.83
เศรษฐกิจใหม่ สุทธิพงศ์ ทองชำนาญ (20) 649 0.66
ประชาธรรมไทย กฤษฎา งามสมกลิ่น (21) 500 0.51
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สอาด คำมาก (2) 379 0.39
รวมพลังประชาชาติไทย จ่าสิบเอก ปิยะณัฐ ถือพุดซา (9) 341 0.35
เพื่อชาติ สมพิษ แพนลิ้นฟ้า (10) 311 0.32
ภูมิใจไทย วิไลรัตน์ อินต๊ะเม้า (17) 285 0.29
ประชาธิปไตยใหม่ พันตำรวจโท สมนึก กิจมานะ (4) 240 0.25
ไทยศรีวิไลย์ อาทิตย์ บังกระโทก (12) 168 0.17
พลังชาติไทย วิลาวรรณ เพ่งพิศ ลินด์เบิร์ก (19) 163 0.17
พลังท้องถิ่นไท พานทิพย์ศิริ เพิ่มพิมพา (11) 148 0.15
พลังปวงชนไทย สุรีย์ โกมารทัต (16) 124 0.13
ไทรักธรรม ศิริพร จันทร์ชู (25) 118 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน เสรีชน ศรีบุตร (18) 105 0.11
พลเมืองไทย สมัย ศรีสมาน (23) 88 0.09
พลังไทสร้างชาติ วิรากานต์ อรัญเจริญยิ่ง (24) 80 0.08
กรีน ศุภชัย ลิ้มศักดิ์ศรี (15) 74 0.08
เพื่อแผ่นดิน วิฑูรย์ แก้วทองดี (13) 54 0.06
ประชาชนปฏิรูป ญาณิศา ประภา (14) 53 0.05
เพื่อนไทย วีรวิทย์ กรเศรษฐี (3)
ประชาภิวัฒน์ สวัสดิ์ บ่อเงิน (22)
ผลรวม 98,073 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. ไทยรัฐออนไลน์ (4 กุมภาพันธ์ 2562). "จับตา "ศึกสายเลือด "ตระกูล" เทียนทอง" สระแก้ว วันแรก แห่สมัครเพียบ". thairath.co.th. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]