จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน622,169
ผู้ใช้สิทธิ80.06%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย พลังประชารัฐ อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 4 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 165,835 114,245 112,713
% 36.09 24.86 24.53

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 4 165,835 36.09% 4 Steady 100.00%
พลังประชารัฐ 4 114,245 24.86% 0 Steady 0.00%
อนาคตใหม่ 4 112,713 24.53% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 105 66,743 14.52% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 117 459,536 100.00% 4 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
เพื่อไทย
  
36.09%
พลังประชารัฐ
  
24.86%
อนาคตใหม่
  
24.53%
อื่น ๆ
  
14.52%
ที่นั่ง
เพื่อไทย
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
เพื่อไทย 281,201 63.93% 165,835 36.09% ลดลง27.84%
พลังประชารัฐ 114,245 24.86% เพิ่มขึ้น24.86%
อนาคตใหม่ 112,713 24.53% เพิ่มขึ้น24.53%
ประชาธิปัตย์ 115,743 26.31% 21,542 4.69% ลดลง21.62%
อื่น ๆ 42,930 9.76% 45,201 9.83% เพิ่มขึ้น0.07%
ผลรวม 439,874 100.00% 459,536 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
เพื่อไทย 268,198 61.96% 165,835 36.09% ลดลง25.87%
พลังประชารัฐ 114,245 24.86% เพิ่มขึ้น24.86%
อนาคตใหม่ 112,713 24.53% เพิ่มขึ้น24.53%
ประชาธิปัตย์ 126,919 29.32% 21,542 4.69% ลดลง24.63%
อื่น ๆ 37,737 8.72% 45,201 9.83% เพิ่มขึ้น1.11%
ผลรวม 432,854 100.00% 459,536 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง เพื่อไทย พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 36,573 30.61% 32,402 27.12% 34,205 28.63% 16,294 13.64% 119,474 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 35,625 34.50% 28,921 28.01% 24,107 23.35% 14,605 14.14% 103,258 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 50,653 42.10% 22,554 18.74% 27,930 23.21% 19,188 15.95% 120,325 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 4 42,984 36.90% 30,368 26.07% 26,471 22.73% 16,656 14.30% 116,479 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 165,835 36.09% 114,245 24.86% 112,713 24.53% 66,743 14.52% 459,536 100.00%

เขตเลือกตั้ง[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอห้างฉัตรและอำเภอเมืองลำปาง [ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย กิตติกร โล่ห์สุนทร (10)✔ 36,573 30.61
อนาคตใหม่ ฑิพาฎีพ์ ปวีณาเสถียร (1) 34,205 28.63
พลังประชารัฐ จินณ์ ถาคำฟู (7) 32,402 27.12
ประชาธิปัตย์ ขนิษฐา นิภาเกษม (2) 5,223 4.37
เสรีรวมไทย ธมลวรรณ จินากุล (9) 2,218 1.86
รวมพลังประชาชาติไทย นคร โยธาวงศ์ (12) 2,196 1.84
เศรษฐกิจใหม่ ร้อยตำรวจโท ศรัณย์ หมื่นสันธิ (17) 2,021 1.69
ภูมิใจไทย บริบูรณ์ บุญยู่ฮง (13) 590 0.49
เพื่อแผ่นดิน เอกสิทธิ์ มานะรุ่งโรจน์ (3) 476 0.40
พลังประชาธิปไตย ขจร แก้วใจบุญ (27) 388 0.32
เพื่อชาติ สุพรรณ์ อุดสมใจ (11) 385 0.32
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ชุมพล ปวนชมภู (6) 348 0.29
พลังท้องถิ่นไท อำพล คำศรีวรรณ (8) 302 0.25
ชาติพันธุ์ไทย พันตำรวจโท อาทิตย์ แก้วอุ่นเรือน (19) 234 0.20
ชาติพัฒนา ศิระภัทร์ คมสัน (4) 227 0.19
ชาติไทยพัฒนา ชานนท สิทธิไพศาล (15) 215 0.18
ไทรักธรรม องอาจ สินอนันต์เศรษฐ์ (30) 214 0.18
ประชาภิวัฒน์ วิเชียร ขลุ่ยทอง (5) 206 0.17
พลังชาติไทย พันเอก วิรัตน์ จันทร์มล (20) 160 0.13
พลังไทยรักไทย บัญชา สิริธัญวลัย (18) 147 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน องอาจ แก้วสกุล (23) 132 0.11
พลเมืองไทย อภิชาติ โชว์เจริญสุข (26) 121 0.10
ประชาชนปฏิรูป ธนชาติ จินดานุรักษ์ (22) 105 0.09
แทนคุณแผ่นดิน นพรุจ วิชัยขัทคะ (29) 98 0.08
ภราดรภาพ พลพงศ์ กำหนดศรี (14) 74 0.06
พลังไทสร้างชาติ ว่าที่ร้อยโท เอกชัย ใจคำท้าว (24) 64 0.05
พลังปวงชนไทย เจษฎา ฟูกุล (25) 60 0.05
ประชานิยม เจนจิรา คำป่าแลว (16) 55 0.05
มหาชน กัลยาณี จันทมาลา (28) 35 0.03
ไทยรักษาชาติ เรืองฤทธิ์ แสนจิตร (21)
ผลรวม 119,474 100.00
บัตรดี 119,474 92.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,551 1.99
บัตรเสีย 6,445 5.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 128,470 82.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 155,856 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองปาน อำเภอวังเหนือ อำเภอแจ้ห่มและอำเภองาว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (7)✔ 35,625 34.50
พลังประชารัฐ ดาชัย เอกปฐพี (4) 28,921 28.01
อนาคตใหม่ กฤตภพ สติดีนิติวงศ์ (1) 24,107 23.35
ประชาธิปัตย์ กัญญารัตน์ วงศ์วรกุลกิจ (8) 5,442 5.27
เสรีรวมไทย พันตำรวจเอก ณรงค์ สูงดี (2) 1,773 1.72
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ธนาวุฒิ เป็งขวัญ (6) 1,357 1.31
พลังประชาธิปไตย ปรียะวัชร์ มณีรัตนพิสุท (24) 737 0.71
พลังท้องถิ่นไท เกชา ใจดี (9) 598 0.58
ไทรักธรรม ชมนันท์ กิ่งแก้ว (27) 501 0.49
พลังไทยรักไทย ประจันต์ สมงอน (12) 497 0.48
พลังปวงชนไทย ร้อยตำรวจเอก ประสิทธิ์ ตามสัตย์ (25) 480 0.46
รวมพลังประชาชาติไทย ณัฐธภรณ์ คำปาน (5) 427 0.41
สามัญชน ชุทิมา ชื่นหัวใจ (19) 399 0.39
ครูไทยเพื่อประชาชน พันตำรวจโท สมพร รักชาติ (21) 395 0.38
ประชาภิวัฒน์ ประพัฒน์ วัฒนานุพนธ์ (3) 387 0.37
ภูมิใจไทย ว่าที่ร้อยตรี นิมิตร บุญยู่ฮง (10) 216 0.21
เพื่อชาติ ทักษิณ ทัศนา (11) 169 0.16
ชาติไทยพัฒนา วัชระ กาวิละนันท์ (14) 149 0.14
ชาติพันธุ์ไทย ภาณุพงศ์ ศรีสมบัติ (18) 140 0.14
พลังชาติไทย ธมลวรรณ โทไวยะ (20) 134 0.13
แทนคุณแผ่นดิน เฟื่องฟ้า ภาสกานนท์ (28) 132 0.13
ประชาธรรมไทย อดิศักดิ์ ศักดิ์นภารัตน์ (29) 129 0.12
ประชานิยม เพชรชมพู อรรถกิจบัญชา (23) 109 0.11
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สอาด มุ่งคิด (22) 104 0.10
มหาชน ณรงค์ มิตรงำเมือง (26) 102 0.10
เพื่อแผ่นดิน ประยูรศักดิ์ บัวเทศ (16) 91 0.09
ประชาชนปฏิรูป ธนกฤต ทายงาม (17) 84 0.08
ภราดรภาพ ภัทรพล ธนภูมิชยกร (13) 53 0.05
เศรษฐกิจใหม่ จรัส แก้วสืบ (15)
ผลรวม 103,258 100.00
บัตรดี 103,258 92.08
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,478 1.32
บัตรเสีย 7,406 6.60
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 112,269 78.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,310 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอแม่เมาะ อำเภอแม่ทะและอำเภอเมืองลำปาง [เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย จรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ (10)* 50,653 42.10
อนาคตใหม่ ชลธานี เชื้อน้อย (8) 27,930 23.21
พลังประชารัฐ คมสัน จิตรมั่น (6) 22,554 18.74
ประชาธิปัตย์ นิคม เชาว์กิตติโสภณ (4)✔ 8,408 6.99
เสรีรวมไทย ถวิล บ่อน้ำใจ (1) 2,241 1.86
เศรษฐกิจใหม่ กมลนิตย์ เดชามาตย์ (19) 1,555 1.29
รวมพลังประชาชาติไทย บรรจง เวชประชา (5) 999 0.83
พลังท้องถิ่นไท คณิศร บุรีย์ (9) 640 0.53
พลังไทยรักไทย กิตติพศ พวงศรี (17) 565 0.47
ชาติพัฒนา ศรีลัย ท่าคล่อง (7) 556 0.46
ภูมิใจไทย ฐานศักดิ์ ศรีพงษ์ใหญ่ (2) 510 0.42
พลังชาติไทย พันตำรวจเอก โอภาส จันทร์ปิง (22) 487 0.40
เพื่อชาติ ทักษิณ ชัยยศ (12) 481 0.40
ชาติพันธุ์ไทย เสริม สูรยกานต์กูล (21) 452 0.38
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุมิตร พรหมปาลิต (11) 357 0.30
เพื่อแผ่นดิน จักรกฤษณ์ สายคำทอน (13) 295 0.25
ประชาภิวัฒน์ วิชัย หมื่นประจักร์ (3) 288 0.24
ชาติไทยพัฒนา ธงชัย ภูษาคำ (15) 264 0.22
พลเมืองไทย อนันต์ แสนจิตต์ (27) 219 0.18
พลังปวงชนไทย ปรานี อุทธิยา (16) 203 0.17
ไทรักธรรม ประกอบ กิ่งแก้ว (29) 190 0.16
ครูไทยเพื่อประชาชน พันตำรวจโท สง่า ส่งมหาชัย (23) 119 0.10
ประชาชนปฏิรูป อินตา ทายงาม (20) 106 0.09
มหาชน ธัญชนก นามนคร (28) 102 0.08
ภราดรภาพ ปรียาพร วงษา (14) 89 0.07
ประชานิยม เครือวรรณ ฟูวุฒิ (18) 62 0.05
ไทยรักษาชาติ ศุภภัทร มานะทัศน์ (24)
พลังประชาธิปไตย สุชารัตน์ เอ่งฉ้วน (25)
ประชาธรรมไทย ณัฐพงศ์ คำโคกกรวด (26)
ผลรวม 120,325 100.00
บัตรดี 120,325 91.85
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,888 2.20
บัตรเสีย 7,796 5.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 131,009 81.87
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 160,017 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเกาะคา อำเภอเสริมงาม อำเภอสบปราบ อำเภอเถินและอำเภอแม่พริก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ (7)* 42,984 36.90
พลังประชารัฐ วัฒนา สิทธิวัง (5) 30,368 26.07
อนาคตใหม่ พิมดารา ศิริสลุง (2) 26,471 22.73
ภูมิใจไทย สุนี สมมี (3) 4,243 3.64
ประชาธิปัตย์ ญาณวรุตม์ ธรรมชาติ (11) 2,469 2.12
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจโท สมบูรณ์ กล้าผจญ (1) 2,466 2.12
เศรษฐกิจใหม่ ธีรยุทธ ธรรมาวุฒิชัย (25) 1,320 1.13
ชาติไทยพัฒนา อธิกัญญ์ ทิชัย (4) 1,034 0.89
เพื่อชาติ อำพร โพธิ์ศรี (6) 883 0.76
มหาชน สุดาพร เครือสาร (27) 627 0.54
พลังท้องถิ่นไท ณรงค์ อินต๊ะพันธ์ (12) 463 0.40
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บุญธรรม เครือแจ้ (9) 343 0.29
พลังไทยรักไทย ภูมิภัทร วงศ์เขื่อนแก้ว (23) 327 0.28
ประชาภิวัฒน์ บุญธรรม จันทะเหลา (10) 280 0.24
รวมพลังประชาชาติไทย พูลพิชิต โฆษิตชูสวัสดิ์ (8) 273 0.23
พลังปวงชนไทย เวธกา แสนประเสริฐ (21) 246 0.21
เพื่อแผ่นดิน สงกร ศรีวิชัยลำพรรณ (22) 239 0.21
ชาติพันธุ์ไทย อชิระจิตรพงศ์ ผดุงวงศ์ษา (16) 217 0.18
ครูไทยเพื่อประชาชน ร้อยตำรวจเอก สมพงค์ พวงพุ่ม (18) 170 0.15
พลังชาติไทย พันตำรวจเอก ณรงค์ จันทราช (17) 162 0.14
ประชาไทย สุพิชา ชุ่มกา (24) 159 0.14
พลังประชาธิปไตย แสวงศิลป์ คำภีระ (26) 130 0.11
ประชานิยม สุชาดา หล้านามวงศ์ (14) 105 0.09
แทนคุณแผ่นดิน สุนันท์ ปัญจวิโรจน์ (28) 102 0.09
ไทรักธรรม ปณิชา วุฒิพล (29) 88 0.08
ไทยรุ่งเรือง สายใจ อริยะดิบ (20) 87 0.07
ภราดรภาพ ภณเอก วัฒนฤกษ์ปรีชา (13) 81 0.07
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ทองอยู่ นันตี (19) 79 0.07
ประชาชนปฏิรูป นงคราญ ทายงาม (15) 73 0.06
ผลรวม 116,479 100.00
บัตรดี 116,479 92.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,556 1.23
บัตรเสีย 8,466 6.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 126,358 77.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 163,986 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักข่าวลำปาง13 (4 กุมภาพันธ์ 2562). "เปิดรายชื่อผู้สมัคร สส.ลำปาง 4 เขตวันแรก ยอดรวม 54 คน จาก 14 พรรคการเมือง". Lampang13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-21. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]