จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
|
← พ.ศ. 2544 |
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 |
พ.ศ. 2549 → |
|
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 427,951 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 78.57 |
---|
|
First party
|
Second party
|
|
|
|
พรรค
|
ประชาธิปัตย์
|
ไทยรักไทย
|
ที่นั่งก่อนหน้า
|
4
|
0
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
4
|
0
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
0
|
0
|
คะแนนเสียง
|
253,676
|
54,855
|
%
|
78.37
|
16.95
|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดตรัง)
[แก้]
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
จน.
|
%
|
+/–
|
|
ประชาธิปัตย์
|
253,676
|
78.37%
|
|
|
ไทยรักไทย
|
54,855
|
16.95%
|
|
|
อื่น ๆ
|
15,153
|
4.68%
|
|
ผลรวม
|
323,684
|
100.00%
|
–
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
ประชาธิปัตย์ |
|
78.37% |
ไทยรักไทย |
|
16.95% |
อื่น ๆ |
|
4.68% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดตรัง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ
[แก้]
ก • ค ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดตรัง
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
ร้อยละ
|
|
ชาติไทย (1)
|
2,014
|
0.62
|
|
กิจสังคม (2)
|
231
|
0.07
|
|
พัฒนาชาติไทย (3)
|
639
|
0.20
|
|
ประชาธิปัตย์ (4)
|
253,676
|
78.37
|
|
ประชาชนไทย (5)
|
309
|
0.10
|
|
คนขอปลดหนี้ (6)
|
528
|
0.16
|
|
ธรรมชาติไทย (7)
|
137
|
0.04
|
|
แผ่นดินไทย (8)
|
214
|
0.07
|
|
ไทยรักไทย (9)
|
54,855
|
16.95
|
|
ความหวังใหม่ (10)
|
609
|
0.19
|
|
มหาชน (11)
|
829
|
0.26
|
|
ประชากรไทย (12)
|
127
|
0.04
|
|
ไทยช่วยไทย (13)
|
282
|
0.09
|
|
แรงงาน (14)
|
5,839
|
1.80
|
|
ชาติประชาธิปไตย (15)
|
2,004
|
0.62
|
|
กสิกรไทย (16)
|
69
|
0.02
|
|
ทางเลือกที่สาม (17)
|
82
|
0.03
|
|
รักษ์ถิ่นไทย (18)
|
76
|
0.02
|
|
พลังเกษตรกร (19)
|
1,005
|
0.31
|
|
พลังประชาชน (20)
|
159
|
0.05
|
|
บัตรดี
|
323,684
|
96.35
|
บัตรเสีย
|
9,441
|
2.81
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
2,827
|
0.84
|
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
335,952
|
78.57
|
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|
427,591
|
100.00
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองตรัง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดตรัง
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
สุวรรณ กู้สุจริต (4)*
|
60,121
|
76.54
|
|
|
ไทยรักไทย
|
ไกรสิน โตทับเที่ยง (9)
|
18,430
|
23.46
|
|
บัตรดี
|
78,551
|
94.57
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,443
|
1.74
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,065
|
3.69
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
83,059
|
82.09
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
101,178
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วย อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดตรัง
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
สาทิตย์ วงศ์หนองเตย (4)**
|
61,035
|
75.07
|
|
|
ไทยรักไทย
|
ธวัช สุระบาล (9)
|
20,267
|
24.93
|
|
บัตรดี
|
81,302
|
89.93
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
808
|
0.94
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,617
|
4.22
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
85,727
|
73.84
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
116,091
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วย อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ) และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วย อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)