จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน553,476
ผู้ใช้สิทธิ69.20%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด 4 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 Steady0 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 142,359 87,328 52,900
% 39.76 24.39 14.77

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย
  •   พรรคภูมิใจไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดนครพนม กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 4 142,359 39.76% 3 ลดลง1 75.00%
ภูมิใจไทย 4 52,900 14.77% 1 เพิ่มขึ้น1 25.00%
พลังประชารัฐ 4 87,328 24.39% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 117 75,499 21.08% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 129 358,086 100.00% 4 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง เพื่อไทย ภูมิใจไทย พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 21,049 23.25% 48,719 53.81% 6,799 7.51% 13,967 15.43% 90,534 100.00% ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 42,990 48.34% 2,251 2.53% 22,688 25.51% 21,006 23.62% 88,935 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 33,645 37.91% 641 0.72% 29,515 33.26% 24,937 28.11% 88,738 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 4 44,675 49.71% 1,289 1.43% 28,326 31.52% 15,589 17.34% 89,879 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 142,359 39.76% 52,900 14.77% 87,328 24.39% 75,499 21.08% 358,086 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอบ้านแพง อำเภอนาทม อำเภอศรีสงครามและอำเภอนาหว้า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ศุภชัย โพธิ์สุ (12)✔ 48,719 53.81
เพื่อไทย ยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ (19)* 21,049 23.25
อนาคตใหม่ ธนากร นิลสาขา (4) 7,354 8.12
พลังประชารัฐ ธงทิพย์ชลิต แห่สถิตย์ (2) 6,799 7.51
เพื่อชาติ รัตนา ทิพย์เสถียร (7) 1,538 1.70
เสรีรวมไทย สังคม สีวังพล (6) 1,202 1.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุรชัย ไชยนาน (11) 462 0.51
ประชาธิปัตย์ สุริน ไตริน (18) 434 0.48
เพื่อคนไทย วิจิตร ชินสาร (5) 313 0.35
ไทยศรีวิไลย์ บุญญาธิการ บารมีเป็นเลิศ (22) 299 0.33
ชาติพัฒนา สุนทร ชาสงวน (13) 263 0.29
พลังปวงชนไทย บุรี วรรณวงศ์ (20) 260 0.29
ประชาภิวัฒน์ มะณี กุลบุตร (1) 206 0.23
พลังประชาธิปไตย ธรรมธัช แมดมิ่งเหง้า (30) 206 0.23
เศรษฐกิจใหม่ ศิริพงษ์ ผาคำ (23) 198 0.22
พลังชาติไทย ยุทธศักดิ์ โพธิ์ละคร (27) 178 0.20
พลังธรรมใหม่ เฉลิมชัย โกษาแสง (17) 138 0.15
พลังท้องถิ่นไท สิงหา พงษ์สังข์ (3) 130 0.14
ประชาชาติ จตุรภัทร ข้อจัตุรัส (16) 128 0.14
ประชาธิปไตยใหม่ กมลรัตน์ สูญราช (9) 116 0.13
ไทรักธรรม นุชจรินทร์ อินปาว (29) 97 0.11
ชาติไทยพัฒนา รัชพล วงก์วรโชติ (8) 90 0.10
รวมพลังประชาชาติไทย กุหลาบ นครชัยกุล (15) 89 0.10
ประชาชนปฏิรูป นริชเนตร ภูชุม (14) 70 0.08
ประชานิยม วลุนยุพา ประกาลัง (10) 67 0.07
พลังไทยรักไทย อุทัย ตันสมรส (25) 59 0.07
ประชาธรรมไทย ธีระพงษ์ หาญสุโพธิ์ (26) 47 0.05
พลเมืองไทย ณรงค์ฤทธิ์ โคจำนงค์ (28) 23 0.03
เพื่อนไทย ดามทมิฬ สิงห์งอย (21)
ครูไทยเพื่อประชาชน ชฎาพร กุณรักษ์ (24)
ผลรวม 90,534 100.00
บัตรดี 90,534
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 458 0.48
บัตรเสีย 5,009 5.22
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,001 69.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,299 100
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอโพนสวรรค์ อำเภอท่าอุเทนและอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติและตำบลท่าค้อ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย มนพร เจริญศรี (2)* 42,990 48.34
พลังประชารัฐ ณัฐธ์ภัสส์ ยงใจยุทธ (10) 22,688 25.51
อนาคตใหม่ พนมศิลป์ เจริญราษฎร์ (12) 11,229 12.63
เพื่อคนไทย ว่าที่ร้อยตรี ถิรวัฒน์ จำปาไชยศรี (6) 2,281 2.56
ภูมิใจไทย อารมณ์ เวียงด้าน (9) 2,251 2.53
เสรีรวมไทย มิตร ไชยสุระ (11) 2,011 2.26
ประชาธิปัตย์ ธเทวินทร์ ตติยะรัตน์ดิลก (8) 817 0.92
พลเมืองไทย จ่าสิบเอก เผด็จ อามาตย์สมบัติ (22) 725 0.82
เพื่อชาติ เศวต ทินกูล (3) 642 0.72
เศรษฐกิจใหม่ ครรชิต เกษรราช (23) 570 0.64
ชาติไทยพัฒนา เรืองชัย วงษ์อุระ (13) 555 0.62
ประชานิยม ร้อยตำรวจโท เฉลิม กล้าหาญ (1) 403 0.45
ไทรักธรรม วิวัฒน์ สรรพโส (30) 323 0.36
ไทยศรีวิไลย์ พนัชกร ภคอธิเชษฐ์ (19) 219 0.25
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย รัศมี ไชยต้นเทือก (4) 207 0.23
พลังปวงชนไทย วุฒิชัย ชินบูรณ์ (17) 191 0.21
พลังท้องถิ่นไท เสน่ คำมุงคุณ (5) 97 0.11
ประชาชนปฏิรูป สุริยา ต้นหนองสรวง (29) 90 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน ธนูศักดิ์ วรรณคำผุย (25) 82 0.09
พลังประชาธิปไตย วีระเดชน์ ศรีนครา (31) 81 0.09
พลังไทยรักไทย ปรเมศวร์ เอกอะยะ (27) 77 0.09
รวมพลังประชาชาติไทย ว่าที่ร้อยโท ไกรภพ นครชัยกุล (14) 67 0.08
ชาติพัฒนา ยุทธพงษ์ เจริญพันธ์ (16) 61 0.07
ประชาธรรมไทย พีระนันท์ ชัยชนะศรี (28) 61 0.07
แผ่นดินธรรม พัชรินทร์ ยิ้มขลิบ (26) 58 0.07
พลังธรรมใหม่ จำลอง บัวสาย (15) 50 0.06
ประชาภิวัฒน์ ดวงใจ เชื้อคำเพ็ง (7) 47 0.05
ประชาธิปไตยใหม่ สนิท ชากิจดี (20) 47 0.05
เพื่อแผ่นดิน เกษม โพลมาศ (18) 15 0.02
เพื่อนไทย ธนวัฒน์ นันทะจักร์ (21)
ไทยรักษาชาติ ชณะ ชาดา (24)
ผลรวม 88,935 100.00
บัตรดี 88,935
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 900 0.94
บัตรเสีย 5,787 6.05
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,622 69.82
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,951 100
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอเรณูนคร อำเภอธาตุพนมและอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลบ้านกลาง ตำบลดงขวาง ตำบลขามเฒ่า ตำบลคำเตย ตำบลโพธิ์ตากและตำบลนาทราย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ไพจิต ศรีวรขาน (6)* 33,645 37.91
พลังประชารัฐ อลงกต มณีกาศ (5)✔ 29,515 33.26
อนาคตใหม่ ปราณี แสนมิตร (10) 12,059 13.59
เพื่อคนไทย เข็มชาติ ทรัพยสิทธิ์ (2) 5,000 5.63
เสรีรวมไทย เกศราพร ศิริผลา (4) 1,823 2.05
รวมใจไทย มิตตา จันทนะ (17) 1,368 1.54
ประชาธิปัตย์ ศุภกิจ โพธิ์ศรีมีสุข (8) 806 0.91
ภูมิใจไทย อดุลศักดิ์ ไชยมนตรี (9) 641 0.72
ครูไทยเพื่อประชาชน ปราโมทย์ โพธิ์ทอง (26) 529 0.60
ชาติพัฒนา เรืองสุข จิตมาตย์ (7) 389 0.44
เศรษฐกิจใหม่ สาธิต หาญณรงค์ (24) 353 0.40
พลเมืองไทย สุวิบูลย์ เตโชจิรพัฒน์ (19) 348 0.39
ชาติไทยพัฒนา นารายณ์ ไชยมาตย์ (3) 294 0.33
เพื่อชาติ หนุ่มเก้าเก้า พานิชดี (14) 283 0.32
ประชานิยม ธนิสากุศลิน ศรีธนเดชณินธร (1) 190 0.21
ไทรักธรรม กองนี พาที (33) 163 0.18
พลังธรรมใหม่ บุญเรือง ตะวังทัน (11) 159 0.18
พลังท้องถิ่นไท ชาญชัย คำมุงคุณ (29) 155 0.17
พลังไทยรักไทย สมพงษ์ วิโรพรหม (22) 148 0.17
พลังประชาธิปไตย อารมณ์ ดีสิงห์บุญ (34) 140 0.16
ไทยศรีวิไลย์ ธนชาต ธนโชติพิพิธ (18) 137 0.15
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย วาดี ไชยต้นเทือก (15) 108 0.12
ประชาธรรมไทย เกรียงไกร ศักดี (27) 95 0.11
พลังชาติไทย ร้อยตำรวจเอก สมรไชย ไชยเดช (28) 76 0.09
รวมพลังประชาชาติไทย กานต์ฐิรัช ราชวงศ์ (13) 66 0.07
แผ่นดินธรรม จุมศักดิ์ สิทธิราช (21) 64 0.07
ประชาชาติ เกวลิน ปัญญาบุตร (32) 59 0.07
เพื่อแผ่นดิน วิโรจน์ ศรีฉ่ำพันธุ์ (16) 51 0.06
ประชาธิปไตยใหม่ เอกราช หนึ่งคำมี (20) 34 0.04
ประชาภิวัฒน์ ปริศนา เชื้อคำเพ็ง (12) 25 0.03
ประชาชนปฏิรูป พัฒนวิชญ์ จันทมาศ (31) 15 0.02
พลังปวงชนไทย พันตำรวจโทหญิง ศิวนาถ พวงแก้ว (23)
ไทยรักษาชาติ วิวัฒน์ชัย คงเพชร (25)
เพื่อนไทย สฐาน คำจันทร์ (30)
ผลรวม 88,738 100.00
บัตรดี 88,738
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 776 0.82
บัตรเสีย 5,592 5.88
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,109 68.55
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,743 100
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วย อำเภอนาแก อำเภอวังยาง อำเภอปลาปากและอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว ตำบลกุรุคุและตำบลบ้านผึ้ง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ชวลิต วิชยสุทธิ์ (2)** 44,675 49.71
พลังประชารัฐ ชูกัน กุลวงษา (8)* 28,326 31.52
อนาคตใหม่ พิศาล บุพศิริ (15) 7,795 8.67
เพื่อคนไทย สุมาลี พูลศิริกุล (9) 1,481 1.65
เสรีรวมไทย ศิริพร อยู่ประเสริฐ (5) 1,341 1.49
ภูมิใจไทย วิลัย ยศสุริยะชัย (4) 1,289 1.43
ประชาธิปัตย์ ธงชัย นายกชน (7) 858 0.95
พลเมืองไทย ปราณี ยะสะกะ (22) 793 0.88
พลังปวงชนไทย ธนพล วรรณวงศ์ (28) 609 0.68
ประชานิยม ร้อยตรี หมอนชัย เชื้อคำเพ็ง (1) 409 0.46
เศรษฐกิจใหม่ ประยูร จันทร์ชนะ (25) 256 0.28
พลังธรรมใหม่ ภูษิต จันดี (3) 244 0.27
ประชาภิวัฒน์ อุดร ลาดบาศรี (6) 229 0.25
ไทยศรีวิไลย์ ปียา ผารุธรรม (23) 227 0.25
พลังท้องถิ่นไท ณฐชนม์ แสนสุภา (12) 163 0.18
ประชาธิปไตยใหม่ สมคิด สีดาจันทร์ (13) 136 0.15
เพื่อชาติ วันไสว ฝาระมี (19) 117 0.13
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ร้อยตำรวจโท ประดิษฐ์ สาริยา (10) 110 0.12
รวมใจไทย วราภรณ์ อาคะนิช (21) 100 0.11
รวมพลังประชาชาติไทย อมต แก่นงาม (11) 97 0.11
ชาติไทยพัฒนา พัฒนา โต๊ะชาลี (17) 92 0.10
พลังชาติไทย เสริมศักดิ์ ศุภวงษ์สกุล (29) 84 0.09
พลังประชาธิปไตย นิน สอนคำ (33) 77 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน บัญชา มาตย์วังแสง (27) 74 0.08
ประชาชนปฏิรูป ศศิวิมล พฤกพัฒนาชัย (16) 72 0.08
ชาติพัฒนา จารุวรรณ เจริญพันธ์ (14) 69 0.08
พลังสังคม สมาน เฮ้าสา (34) 42 0.05
ไทรักธรรม ยนต์ เบ้าไธสงค์ (32) 36 0.04
เพื่อแผ่นดิน จ่าสิบตำรวจ กฐสักกษัษฐี โคตุทา (20) 33 0.04
ประชาธรรมไทย บุญญฤทธิ์ กาฬหว้า (30) 26 0.03
พลังแผ่นดินทอง ปราโมทย์ พรมพินิจ (31) 19 0.02
ประชาชาติ จีรวัฒน์ ตุลาพัฒน์ (18)
เพื่อนไทย บรรจบศิลป์ จันทะวัง (24)
ไทยรักษาชาติ ฉลอง เชื้อดวงผูย (26)
ผลรวม 89,879 100.00
บัตรดี 89,879
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 735 0.76
บัตรเสีย 5,684 5.90
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,298 69.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,483 100
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 กันยายน 2561). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]