จังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน320,479
ผู้ใช้สิทธิ69.50%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย ภูมิใจไทย อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 71,476 47,510 36,804
% 34.42 22.88 17.72

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 2 71,476 34.42% 2 Steady 100.00%
ภูมิใจไทย 2 47,510 22.28% 0 Steady 0.00%
อนาคตใหม่ 2 36,804 17.72% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 66 51,446 25.58% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 72 207,236 100.00% 2 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตการเลือกตั้ง เพื่อไทย ภูมิใจไทย อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 36,117 34.07% 30,926 29.17% 17,072 16.10% 21,899 20.66% 106,014 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 35,359 34.78% 16,584 16.31% 19,732 19.41% 29,983 29.50% 101,658 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 71,476 34.42% 47,510 22.88% 36,804 17.72% 51,446 25.58% 207,236 100.00%

เขตเลือกตั้ง[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองบึงกาฬ อำเภอโซ่พิสัย อำเภอปากคาด และอำเภอบุ่งคล้า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบึงกาฬ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ (5)* 36,117 34.07
ภูมิใจไทย แว่นฟ้า ทองศรี (3) 30,926 29.17
อนาคตใหม่ สุทธิณัฐ นามวัน (8) 17,072 16.10
พลังประชารัฐ เกรียงศักดิ์ วงษ์คงคำ (7) 11,862 11.19
ประชาธิปัตย์ ปรวรรษ หวายฤทธิ์ (14) 1,268 2.33
เสรีรวมไทย พันตำรวจเอก กิตติพงศ์ สินจิตต์ (10) 1,253 1.18
พลังปวงชนไทย รจนา พลเยี่ยม (23) 1,233 1.16
ครูไทยเพื่อประชาชน ดำรง ไชยสิทธิ์ (25) 676 0.64
ชาติพัฒนา วรรักษ์วัลย์ สมบูรณ์ (4) 572 0.54
ประชาธรรมไทย สุริยันต์ วงศ์ษา (22) 562 0.53
เศรษฐกิจใหม่ โยธิน บุญแก้ว (32) 495 0.47
เพื่อชาติ ชาญวุฒิ บุตดา (13) 457 0.43
รวมพลังประชาชาติไทย สมนึก พิทูลทอง (1) 366 0.35
พลังท้องถิ่นไท สุวิทย์ นาคลา (2) 339 0.32
ฐานรากไทย จิณณวัตร พรรณวงศ์ (27) 324 0.31
ชาติไทยพัฒนา ยุทธพงษ์ แสงศรี (16)✔ 316 0.30
พลเมืองไทย อรุณ วัดโสภา (21) 315 0.30
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ภูคมิน สายลุน (6) 261 0.25
เพื่อไทยพัฒนา ศิรินันท์ เทศโมลี (28) 198 0.19
พลังไทยรักไทย บุญเหลือ ราชภักดี (18) 189 0.18
ผึ้งหลวง สุนทร เทียบเพชร (34) 159 0.15
ประชานิยม สมพงษ์ อุตรธรณ์ (15) 146 0.14
ไทยศรีวิไลย์ บุญมี กุลวงษ์ (20) 142 0.13
พลังสังคม ไพฑูล สินแสวง (30) 134 0.13
เพื่อแผ่นดิน ประหยัด นาหอคำ (26) 87 0.08
ประชากรไทย ชาญธีรดล สมบูรณ์ (24) 86 0.08
ประชาภิวัฒน์ กิตติมศักดิ์ พระราช (11) 78 0.07
ประชาธิปไตยใหม่ กิตติกรณ์ ศรีสงคราม (17) 70 0.07
ไทรักธรรม เกรียงชัย บัวซาว (36) 65 0.05
ประชาชนปฏิรูป อาทิตย์ อักษรศิริ (12) 54 0.05
พลังชาติไทย จิรายุ สุทะสิงห์ (29) 53 0.05
พลังศรัทธา บุญนำ วังตะเคน (33) 44 0.04
พลังประชาธิปไตย สากล นันทรักษ์ (35) 42 0.04
พลังธรรมใหม่ ชาดี ผ่านชมภู (19) 30 0.03
พลังไทสร้างชาติ กรรณิกา โพธิ์สว่าง (31) 23 0.02
เพื่อนไทย คำแดง สุทธิสาร (9)
ผลรวม 106,014 100.00
บัตรดี 106,014 93.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 780 0.69
บัตรเสีย 6,466 5.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 113,260 70.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 161,369 100
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเซกา อำเภอพรเจริญ อำเภอศรีวิไล และอำเภอบึงโขงหลง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบึงกาฬ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ไตรรงค์ ติธรรม (9)* 35,359 34.78
อนาคตใหม่ สำรวย ศรีทิน (3) 19,732 19.41
ภูมิใจไทย จรูญ แสนพิมพ์ (2) 16,584 16.31
พลังประชารัฐ ไพรวัลย์ อรกุล (8) 15,681 15.60
ชาติไทยพัฒนา ร้อยตำรวจเอก ไพศาล ข่าทิพย์พาที (22) 2,549 2.51
เพื่อชาติ ไพโรจน์ จิตไพศาล (13) 1,918 1.89
ประชาธิปัตย์ วินัย ติยะบุตร (1) 1,896 1.87
เสรีรวมไทย อารตี สีมา (6) 1,352 1.33
เศรษฐกิจใหม่ ณรงค์ อินโพธิษา (15) 1,310 1.29
รักท้องถิ่นไทย เกตุแก้ว หาญเชิงชัย (36) 761 0.75
เพื่อไทยพัฒนา ดนิตา ชาตานันท์ (29) 745 0.73
พลังปวงชนไทย อภิรักษ์ อำมาตย์สำราญ (28) 565 0.56
ภราดรภาพ ไชยา บุษมงคล (19) 314 0.31
ผึ้งหลวง สุริยา ภูยี่หวา (33) 277 0.27
ประชาชนปฏิรูป ประภัสสร ทองปาน (10) 234 0.23
รวมพลังประชาชาติไทย แก้ว พูลเพิ่ม (5) 232 0.23
ประชาชาติ เกริกชัย พลชา (23) 215 0.21
ประชาภิวัฒน์ นวพล สิริกรรณ์ (7) 201 0.20
พลังท้องถิ่นไท ศิริวรรณ ปุดตะศิริวงษ์ (4) 145 0.14
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บุษบา วงค์ใหญ่ (12) 126 0.12
ประชาธิปไตยใหม่ มุนิตย์ แสนวัง (16) 126 0.12
ไทยศรีวิไลย์ สายปวีณ์ เทียนเถื่อน (17) 125 0.12
ประชาธรรมไทย อุทัย วงศ์อามาตย์ (20) 123 0.12
พลังไทยรักไทย บุญล้อม กางศรี (32) 112 0.11
พลเมืองไทย สาวิตรี พลภักดี (18) 110 0.11
ประชากรไทย ชนิตา บุญประสิทธิ์ (21) 108 0.11
ประชานิยม หนูทอง มาตรพระคลัง (14) 103 0.10
พลังสังคม ยุวดี แก้วสนิท (31) 89 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน เพ็ง ลมกาหลง (24) 84 0.08
พลังไทสร้างชาติ ประยงค์ แก้วยา (27) 79 0.08
แผ่นดินธรรม วรรษวรรณ สุทธศรี (26) 75 0.07
พลังชาติไทย ศุภนิจ อธิฏฐาน (30) 52 0.05
เพื่อแผ่นดิน โกสินธุ์ หันตุลา (25) 41 0.04
ไทรักธรรม บุญส่ง วีระศักดิ์ (34) 32 0.03
ฐานรากไทย จันทา หูพารักษา (35) 23 0.02
เพื่อนไทย ประหยัด ศรีรัตนขันธ์ (11)
ผลรวม 101,658 100.00
บัตรดี 101,658 90.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 823 0.75
บัตรเสีย 6,980 6.38
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,461 68.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 159,110 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. เพจข่าวท้องถิ่นบึงกาฬ (4 กุมภาพันธ์ 2562). "ส่องรายชื่อผู้สมัครส.ส.เขตพรรคการเมืองจ.บึงกาฬมีใครบ้าง". Bungkan.net. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]