ศุภชัย ภู่งาม
ศุภชัย ภู่งาม ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว., ว.ป.ร.3 | |
---|---|
องคมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 8 เมษายน 2551 – 6 ธันวาคม 2559 | |
กษัตริย์ | พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช |
อยู่ในวาระ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 6 ธันวาคม 2559 | |
กษัตริย์ | พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ประธานศาลฎีกา คนที่ 35 | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม 2547 – 30 กันยายน 2548 | |
ก่อนหน้า | อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ |
ถัดไป | ชาญชัย ลิขิตจิตถะ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2487 (76 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
นายศุภชัย ภู่งาม (4 มิถุนายน 2488 - ) องคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีกา
ประวัติ[แก้]
นายศุภชัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เนติบัณฑิตไทย และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 39
การทำงาน[แก้]
ศุภชัย ภู่งาม เคยเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา ผู้พิพากษาศาลจังหวัดอุดรธานี นครราชสีมา นนทบุรี ก่อนเข้ามาเป็นผู้พิพากษาประจำกระทรวง ช่วยงานศาลแพ่ง หัวหน้าศาลประจำกระทรวง หัวหน้าศาลจังหวัดหนองคาย หัวหน้าศาลชลบุรี ผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง ผู้พิพากษาศาลแพ่ง หัวหน้าคณะในศาลแพ่ง ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 รองปลัดกระทรวงยุติธรรม (ฝ่ายวิชาการ) รองอธิบดีศาลแพ่ง ผู้พิพากษาศาลฎีกา รองอธิบดีศาลอุทธรณ์ภาค 3 หัวหน้าคณะในศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 3
นายศุภชัย ดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 สืบต่อจากนายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ และเป็นผู้นำคณะผู้พิพากษาเข้ารับพระราชกระแสรับสั่งให้ตุลาการศาล ยุติธรรมช่วยแก้ไขวิกฤตของบ้านเมืองในช่วงกลางปี พ.ศ. 2548
ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเป็นองคมนตรี[1]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2539 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2535 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2562 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2541 -
เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[5]
- พ.ศ. 2562 -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 10 ชั้นที่ ๓ (ว.ป.ร.๓)[6]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี (พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายศุภชัย ภู่งาม นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ)
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม ๑๑๓, ตอน ๒๒ ข, ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๔
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม ๑๐๙, ตอน ๑๕๔ , ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๕, หน้า ๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๓๖, ตอน ๔๖ ข ฉบับทะเบียนฐานันดร, ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒, หน้า ๑
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและจักรพรรดิมาลา เล่ม ๑๑๕, ตอน ๒ ข, ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑, หน้า ๔๐๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/046/T_0001.PDF ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเหรียญรัตนาภรณ์], เล่ม ๑๓๖, ตอน ๔๖ ข, ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒, หน้า ๑
ก่อนหน้า | ศุภชัย ภู่งาม | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ | ![]() |
40x40px ประธานศาลฎีกา (คนที่ 35) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 - 30 กันยายน พ.ศ. 2548) |
![]() |
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ |
|
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2487
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- องคมนตรีในรัชกาลที่ 9
- องคมนตรีในรัชกาลที่ 10
- ประธานศาลฎีกาไทย
- ข้าราชการฝ่ายตุลาการชาวไทย
- ผู้พิพากษาไทย
- บุคคลจากโรงเรียนวัดสระเกศ
- บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- บุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์