ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1943)
ยุทธการที่สโมเลนสค์ครั้งที่สอง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
ทหารเยอรมันได้ทำการป้องกันสโมเลนสก์ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1943 | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน พันธมิตรฝ่ายอักษะ | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ |
อันเดรย์ เยเรเมนโก วาซีลี โซโคลอฟสกี | ||||||
กำลัง | |||||||
Soviet estimate: 850,000 men 8,800 guns 500 tanks 700 aircraft[1] |
1,252,600 men[2] 20,640 guns 1,430 tanks 1,100 aircraft[1] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
'German sources:[3] Total: 70,593 3 panzer army 10.08 - 30.09.43: 765 KIA, 3,386 WIA, 270 MIA; 4 army 10.08 - 30.09.43: 8,825 KIA, 35,237 WIA, 4,127 MIA 9 army 20.08 - 30.09.43: 3,394 KIA, 12,688 WIA, 1,901 MIA Soviet sources: 200,000–250,000 casualties[4] |
Soviet sources: 451,466 overall (Including 107,645 killed, missing or captured 343,821 wounded and sick[2]) |
ยุทธการที่สโมเลนสค์ ครั้งที่สอง(7 สิงหาคม – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1943) เป็นปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์ของโซเวียตที่ถูกดำเนินโดยกองทัพแดงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการทัพฤดูร้อน-ฤดูใบไม้ร่วง ปี ค.ศ. 1943 การเปิดฉากการรบที่พร้อมไปกับการรุกแม่น้ำนีเปอร์ตอนล่าง(13 สิงหาคม-22 กันยายน) การรุกได้กินเป็นเวลาสองเดือนและภายใต้การนำโดยนายพล อันเดรย์ เยเรเมนโก ซึ่งได้บัญชาการแนวรบคาลินิน และ วาซีลี โซโคลอฟสกี ซึ่งได้บัญชาการแนวรบตะวันตก เป้าหมายคือการกวาดล้างกองกำลังเยอรมันไปจากภูมิภาคสโมเลนสก์และ Bryansk สโมเลนสก์นั้นอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมันนับตั้งแต่ยุทธการที่สโมเลนสก์ครั้งที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1941
แม้ว่าการป้องกันของเยอรมันที่น่าประทับใจ กองทัพแดงสามารถที่จะบุกทะลวงได้หลายครั้ง ปลดปล่อยเมืองสำคัญหลายเมือง รวมทั้งสโมเลนสก์และ Roslavl ด้วยผลลัพธ์ของปฏิบัติการครั้งนี้ กองทัพแดงสามารถที่จะเริ่มวางแผนสำหรับการปลดปล่อยเบลารุส อย่างไรก็ตาม การรุกทั้งหมดเป็นความอ่อนด้อยและเชื่องช้าเมื่อเผชิญหน้าการต้านทานอย่างหนักของเยอรมัน และปฏิบัติการครั้งนี้ได้ประสบความสำเร็ขในสามขั้นตอนคือ 7-20 สิงหาคม 21 สิงหาคม-6 กันยายน และ 7 กันยายน-2 ตุลาคม
แม้ว่าการมีบทบาทการทหารที่สำคัญในสิทธิของตน ปฏิบัติการสโมเลนสก์ยังมีความสำคัญสำหรับผลกระทบต่อยุทธการที่แม่น้ำนีเปอร์ มีจำนวนทหารประมาณหลายนายของ 55 กองพลเยอรมันได้รับมอบหมายให้ทำการตอบโต้ปฏิบัติการสโมเลนสก์-กองพลนี้จะมีส่วนสำคัญเพื่อขัดขวางไม่ให้ทหารโซเวียตจากการก้าวข้ามแม่น้ำนีเปอร์ในทางตอนใต้ ในหลักสูตรของปฏิบัติการ กองทัพแดงยังแตกหักขับไล่กองทัพเยอรมันออกไปจากสะพานแผ่นดินสโมเลนสก์ ในประวัติศาสตร์เป็นทางยุทธวิธีที่สำคัญที่สุดสำหรับการโจมตีทางตะวันตกต่อกรุงมอสโก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 A.A. Grechko and al., History of Second World War, Moscow, 1973–1979, tome 7, p.241
- ↑ 2.0 2.1 Glantz (1995), p. 297
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 พฤษภาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2014.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ V.A. Zolotarev and al., Great Patriotic War 1941–1945, Moskva, 1998, p 473.