ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
|รหัสภูมิภาค =
|รหัสภูมิภาค =
|บุคลากร =
|บุคลากร =
|งบประมาณ = 66.4922 ล้านบาท <small>([[พ.ศ. 2559]])</small><ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/091/17.PDF พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559] เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558</ref>
|งบประมาณ =
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[ดร.พสุ โลหารชุน]]
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[สุพันธุ์ มงคลสุธี]]
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
|หัวหน้า2_ชื่อ = ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร
|หัวหน้า2_ชื่อ = ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
== การดำเนินงาน ==
== การดำเนินงาน ==
ธสน. มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้[[สินเชื่อ]]ได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็น[[สกุลเงิน]]บาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่[[ธนาคารพาณิชย์]]ทำได้ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก
ธสน. มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้[[สินเชื่อ]]ได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็น[[สกุลเงิน]]บาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่[[ธนาคารพาณิชย์]]ทำได้ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

ในปี พ.ศ. 2553 ธสน. มีผลกำไรสุทธิ 144.73 ล้านบาท ลดลงจากปี พ.ศ. 2552 ที่มีผลกำไรสุทธิ 346.148 ล้านบาท<ref>[http://www.sepo.go.th/2553-sfis-annual-reviews-2010/1004-sfis-annual-reviews-2010/209/category.htm รายงานผลการดำเนินงานของสถาบันการเงินเฉพาะกิจประจำปี 2553]</ref>


== สาขา ==
== สาขา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:03, 14 มิถุนายน 2564

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
Export-Import Bank of Thailand
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง7 กันยายน พ.ศ. 2536 (30 ปี)
สำนักงานใหญ่1193 ถนนพหลโยธิน แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
งบประมาณประจำปี66.4922 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • สุพันธุ์ มงคลสุธี, ประธานกรรมการ
  • ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร, กรรมการผู้จัดการ
  • วรางคณา วงศ์ข้าหลวง, รองกรรมการผู้จัดการ
  • วรรธนา มงคลศรี, รองกรรมการผู้จัดการ
  • สิทธิกร ดิเรกสุนทร, รองกรรมการผู้จัดการ
  • รองกรรมการผู้จัดการ
ต้นสังกัดหน่วยงานกระทรวงการคลัง
เว็บไซต์www.exim.go.th

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) (Export-Import Bank of Thailand หรือ EXIM Bank) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2536[2] เพื่อประกอบธุรกิจอันเป็นการส่งเสริม และสนับสนุนการส่งออก การนำเข้า และการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ

การดำเนินงาน

ธสน. มีขอบเขตอำนาจในการทำธุรกิจไว้อย่างกว้างขวาง ธสน. จึงสามารถให้สินเชื่อได้ทุกรูปแบบ เช่น สินเชื่อระยะสั้นและสินเชื่อระยะยาว สินเชื่อในประเทศและสินเชื่อต่างประเทศ โดยสามารถทำธุรกิจได้ทั้งที่เป็นสกุลเงินบาทและสกุลเงินตราต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินทุกประเภททั้งในประเทศและต่างประเทศและออกตราสารการเงินระยะสั้นและระยะยาวขายแก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวโดยสรุป ธสน. สามารถทำธุรกิจทุกประเภทที่ธนาคารพาณิชย์ทำได้ยกเว้นเพียงการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไปเท่านั้น สำหรับนักลงทุนไทยที่ไปลงทุนในต่างประเทศ สนับสนุนการลงทุนในรูปของการให้บริการทางการเงินทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว และเพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้แก่นักลงทุน ยังพร้อมที่จะร่วมลงทุนถือหุ้นในกิจการอีกด้วย การรับประกันความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงินจากการส่งออก

ในปี พ.ศ. 2553 ธสน. มีผลกำไรสุทธิ 144.73 ล้านบาท ลดลงจากปี พ.ศ. 2552 ที่มีผลกำไรสุทธิ 346.148 ล้านบาท[3]

สาขา

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย มีจำนวนสาขาทั่วประเทศไทยทั้งสิ้น 9 สาขา[4]

สาขา

  • สาขาบางนา-ตราด กม.3
  • สาขาพระราม 2
  • สาขาพระราม 4
  • สาขารังสิต
  • สาขาเสรีไทย
  • สาขาขอนแก่น
  • สาขาเชียงใหม่
  • สาขาหาดใหญ่
  • สาขาแหลมฉบัง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น