รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอินเดียทั้งสิ้น 40 รายการ[1] ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 32 รายการ มรดกโลกทางธรรมชาติ 7 รายการ และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 รายการ

ที่ตั้ง[แก้]

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดียตั้งอยู่ในอินเดีย
รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
ที่ตั้งของแหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
ป้อมอาครา รัฐอุตตรประเทศ วัฒนธรรม:
(iii)
2526/1983 [2]
ถ้ำอชันตา รัฐมหาราษฏระ วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (iv)
2526/1983 [3]
ถ้ำเอลโลรา รัฐมหาราษฏระ วัฒนธรรม:
(i), (iii), (vi)
2526/1983 [4]
ทัชมาฮาล รัฐอุตตรประเทศ วัฒนธรรม:
(i)
2526/1983 [5]
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม รัฐทมิฬนาฑู วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (vi)
2527/1984 [6]
เทวาลัยพระอาทิตย์ โกณารัก รัฐโอฑิศา วัฒนธรรม:
(i), (iii), (vi)
2527/1984 [7]
โบสถ์และคอนแวนต์แห่งกัว กัว วัฒนธรรม:
(ii), (iv), (vi)
2529/1986 [8]
ฟเตหปุระสีกรี รัฐอุตตรประเทศ วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
2529/1986 [9]
กลุ่มโบราณสถานแห่งฮัมปี รัฐกรณาฏกะ วัฒนธรรม:
(i), (iii), (iv)
2529/1986 [10]
กลุ่มโบราณสถานแห่งขชุราโห รัฐมัธยประเทศ วัฒนธรรม:
(i), (iii)
2529/1986 [11]
ถ้ำเอลิแฟนตา รัฐมหาราษฏระ วัฒนธรรม:
(i), (iii)
2530/1987 [12]
มหาเทวสถานที่มีชีวิตแห่งโจฬะ รัฐทมิฬนาฑู วัฒนธรรม:
(ii), (iii)
2530/1987 ประกอบด้วย พฤหทีศวรมนเทียร (ตันชาวุร), คงไคโกนทะโจฬปุรัมมนเทียร และไอรวเตสวรมนเทียร [13]
กลุ่มโบราณสถานแห่งปัฏฏทกัล รัฐกรณาฏกะ วัฒนธรรม:
(iii), (iv)
2530/1987 [14]
กลุ่มพุทธสถานที่สาญจี รัฐมัธยประเทศ วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (iv), (vi)
2532/1989 [15]
หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง เดลี เดลี วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
2536/1993 [16]
กุตุบมีนาร์และโบราณสถาน เดลี เดลี วัฒนธรรม:
(iv)
2536/1993 [17]
ทางรถไฟสายภูเขาแห่งอินเดีย วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
88.99 ha; พื้นที่กันชน 644.88 ha 2542/1999 ประกอบด้วย 1. ทางรถไฟสายหิมาลัยดาร์จีลิง 2. ทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลา และ 3. ทางรถไฟสายภูเขานีลคีรี [18]
กลุ่มวัดมหาโพธิที่พุทธคยา รัฐพิหาร วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (iv), (vi)
2545/2002 [19]
เพิงหินภีมเพฏกา รัฐมัธยประเทศ วัฒนธรรม:
(iii), (v)
2546/2003 [20]
อุทยานโบราณคดีจัมปาเนร์-ปาวาครห์ รัฐคุชราต วัฒนธรรม:
(iii), (v), (v), (vi)
2547/2004 [21]
สถานีปลายทางฉัตรปติศิวาชี (สถานีปลายทางวิกตอเรียเดิม) รัฐมหาราษฏระ วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
2547/2004 [22]
ป้อมแดง เดลี วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
2550/2007 [23]
ชันตรมันตระ ชัยปุระ รัฐราชสถาน วัฒนธรรม:
(iii), (vi)
2553/2010 [24]
ป้อมเนินแห่งราชสถาน รัฐราชสถาน วัฒนธรรม:
(ii), (iii)
2556/2013 [25]
รานี-กี-วาว (บ่อน้ำขั้นบันไดของพระราชินี) ที่ปาฏัณ รัฐคุชราต รัฐคุชราต วัฒนธรรม:
(i), (iv)
2557/2014 [26]
แหล่งโบราณคดีนาลันทามหาวิหาร (มหาวิทยาลัยนาลันทา) ที่นาลันทา พิหาร รัฐพิหาร วัฒนธรรม:
(iv), (vi)
2559/2016 [27]
งานสถาปัตยกรรมของเลอกอร์บูซีเย คุณูปการอันโดดเด่นต่อขบวนการสมัยใหม่
(ร่วมกับญี่ปุ่น เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ และอาร์เจนตินา)
จัณฑีครห์ วัฒนธรรม:
(i) (ii) (vi)
2559/2016 สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนได้แก่ จัณฑีครห์แคปิตอลคอมเพลกซ์ [28]
นครประวัติศาสตร์อัห์มดาบาด รัฐคุชราต วัฒนธรรม:
(ii) (v)
535.7; พื้นที่กันชน 395 2560/2017 [29]
กลุ่มอาคารกอทิกวิกตอเรียและอลังการศิลป์แห่งมุมไบ นครมุมไบ วัฒนธรรม:
(ii) (iv)
66.34; พื้นที่กันชน 378.78 2561/2018 [30]
เมืองชัยปุระ ราชสถาน รัฐราชสถาน วัฒนธรรม:
(ii) (iv) (vi)
710; พื้นที่กันชน 2,205 2562/2019 [31]
กากติยารุทเรศวรมนเทียร (รามัปปามนเทียร) เตลังคานา รัฐเตลังคานา วัฒนธรรม:
(i) (iii)
5.93; พื้นที่กันชน 66.27 2564/2021 [32]
โธฬาวีรา นครอารยธรรมฮารัปปา รัฐคุชราต วัฒนธรรม:
(iii) (iv)
103; พื้นที่กันชน 4,865 2564/2021 [33]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
อุทยานแห่งชาติกาซีรังคา รัฐอัสสัม ธรรมชาติ:
(ix), (x)
2528/1985 [34]
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามานสะ รัฐอัสสัม ธรรมชาติ:
(vii), (ix), (x)
2528/1985 [35]
อุทยานแห่งชาติเกวลาเทวะ รัฐราชสถาน ธรรมชาติ:
(x)
2528/1985 [36]
อุทยานแห่งชาติสุนทรพน รัฐเบงกอลตะวันตก ธรรมชาติ:
(ix), (x)
2530/1987 [37]
อุทยานแห่งชาตินันทาเทวีและหุบเขาดอกไม้ รัฐอุตตราขัณฑ์ ธรรมชาติ:
(vii), (x)
2531/1988 [38]
เทือกเขาฆาฏตะวันตก รัฐเกรละ กรณาฏกะ ทมิฬนาฑู และมหาราษฏระ ธรรมชาติ:
(ix) (x)
2555/2012 [39]
อุทยานแห่งชาติหิมาลัยใหญ่ รัฐหิมาจัลประเทศ ธรรมชาติ:
(vii), (x)
2557/2014 [40]

แหล่งมรดกโลกแบบผสม[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
อุทยานแห่งชาติคังเชนเซิงงา รัฐสิกขิม ผสม:
(iii) (vi) (vii) (x)
2559/2016 [41]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศอินเดียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 46 รายการ[1]


อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in India". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2021.
  2. "Agra Fort". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  3. "Ajanta Caves". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  4. "Ellora Caves". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  5. "Taj Mahal". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  6. "Group of Monuments at Mahabalipuram". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  7. "Sun Temple, Konârak". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  8. "Churches and Convents of Goa". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  9. "Fatehpur Sikri". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  10. "Group of Monuments at Hampi". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  11. "Khajuraho Group of Monuments". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  12. "Elephanta Caves". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  13. "Great Living Chola Temples". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  14. "Group of Monuments at Pattadakal". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  15. "Buddhist Monuments at Sanchi". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  16. "Humayun's Tomb, Delhi". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  17. "Qutb Minar and its Monuments, Delhi". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  18. "Mountain Railways of India". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  19. "Mahabodhi Temple Complex at Bodh Gaya". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  20. "Rock Shelters of Bhimbetka". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  21. "Champaner-Pavagadh Archaeological Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  22. "Chhatrapati Shivaji Terminus (formerly Victoria Terminus)". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  23. "Red Fort Complex". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  24. "The Jantar Mantar, Jaipur". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  25. "Hill Forts of Rajasthan". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  26. "Rani-ki-Vav (the Queen's Stepwell) at Patan, Gujarat". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  27. "Archaeological Site of Nalanda Mahavihara (Nalanda University) at Nalanda, Bihar". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2016.
  28. "The Architectural Work of Le Corbusier, an Outstanding Contribution to the Modern Movement". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2016.
  29. "Historic City of Ahmadabad". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2017.
  30. "Victorian Gothic and Art Deco Ensembles of Mumbai". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2018.
  31. "Jaipur City, Rajasthan". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2019.
  32. "Kakatiya Rudreshwara (Ramappa) Temple, Telangana". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2021.
  33. "Dholavira: a Harappan City". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2021.
  34. "Kaziranga National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  35. "Manas Wildlife Sanctuary". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  36. "Keoladeo National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  37. "Sundarbans National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  38. "Nanda Devi and Valley of Flowers National Parks". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  39. "Western Ghats". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  40. "Great Himalayan National Park Conservation Area". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  41. "Kaziranga National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2016.