หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง
หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง เดลี * | |
---|---|
![]() | |
ประเทศ | เดลี ![]() |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
เกณฑ์พิจารณา | (ii)(iv) |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 1993 (คณะกรรมการสมัยที่ 17) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง (อังกฤษ: Humayun's Tomb; อูรดู: ہمایوں کا مقبرہ, Humayun ka Maqbara) เป็นสุสานหลวงที่บรรจุพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง แห่งจักรวรรดิโมกุล โดยผู้กำกับดูแลการก่อสร้างได้แก่พระมเหสีพระองค์แรกของพระองค์ ซึ่งมีพระนามว่า "พระนางเบกา เบกุม"[1][2][3][4][5][6] สร้างในระหว่างปีค.ศ. 1569 - ค.ศ. 1570 ออกแบบโดยมิรัก มีร์ซา กียัท (Mirak Mirza Ghiyath) สถาปนิกชาวเปอร์เซีย ซึ่งจัดว่าเป็นสุสานและสวนแห่งแรกบนอนุทวีปอินเดีย[7] ตั้งอยู่ที่นิซามุดดิน อีสต์ เดลี ประเทศอินเดีย ใกล้กับป้อมปราการ "ดินา-ปานาห์" (Dina-panah) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "ปุรานากิลา" (Purana Qila) ซึ่งพระองค์ทรงให้ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1533 สถานที่แห่งนี้เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่แห่งแรกที่ใช้หินทรายสีแดงเป็นวัตถุดิบหลักในการก่อสร้าง[8][9] สถานที่แห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 1993[7] และตั้งแต่นั้นมาจึงได้เริ่มการบูรณะอย่างจริงจังซึ่งยังคงดำเนินถึงปัจจุบัน นอกเหนือจากอาคารที่เป็นสุสานหลักแล้ว ยังมีอนุสรณ์สถานต่างๆหลายแห่งซึ่งตั้งอยู่ระหว่างทาง ตั้งแต่ประตูทางเข้าหลักทางทิศตะวันตก ยังมีอีกสถานที่หนึ่งซึ่งมีความเก่าแก่กว่าประมาณยี่สิบปี ได้แก่ สุสานของอิซา คาน นิยาซี (Isa Khan Niyazi) ซึ่งเป็นขุนนางชาวอัฟกันในราชสำนักของพระเจ้าเชอร์ชาห์สุรีแห่งราชวงศ์สุรี ซึ่งสร้างในปีค.ศ. 1547
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Burke, S. M. (1989). Akbar, the Greatest Mogul. Munshiram Manoharlal. p. 191.
- ↑ Eraly, Abraham (2007). The Mughal World : Life in India's Last Golden Age. Penguin Books. p. 369. ISBN 9780143102625.
- ↑ Smith, Vincent Arthur (1919). Akbar: The Great Mogul 1542-1605. Clarendon Press. p. 125.
- ↑ Development in Contrast : From the Sixteenth to the Mid-Nineteenth Century. UNESCO Publications. 2003. p. 512. ISBN 9789231038761.
|first=
missing|last=
(help)CS1 maint: extra text: authors list (link) - ↑ Henderson, Carol E. (2002). Culture and Customs of India. Greenwood Press. p. 90. ISBN 9780313305139.
- ↑ "Mausoleum that Humayun never built". The Hindu. 28 April 2003. สืบค้นเมื่อ 24 February 2013.
- ↑ 7.0 7.1 Humayun's Tomb, Delhi World Heritage Committee, UNESCO.
- ↑ Humayun's Tomb Govt. of India Portal.
- ↑ Plaque at Humayun's Tomb Site
- Hearn, Gordon Risley (1906). The Seven Cities of Delhi. W. Thacker & Co., London.
ดูเพิ่ม[แก้]
- Begum, Gulbadan (1902). Humayun-nama :The history of Humayun. Royal Asiatic Society. Unknown parameter
|coauthors=
ignored (|author=
suggested) (help) - Banerji, S K (1938). Humayun Badshah. Humphrey Milford Oxford University Press.
- Humayun's Tomb & adjacent monuments, by Akbar Naqvi. Published by Archaeological Survey of India, 2002. ISBN 81-87780-08-8.
- Delhi - Humayun's Tomb and Adjacent Building Delhi Through Ages, by S. R. Bakshi. Published by Anmol Publications, 1995. ISBN 81-7488-138-7. Page 29-47.
- Orthodoxy, Innovation, and Revival: Considerations of the Past Imperial Mughal Tomb Architecture by Michael Brand. 1993.
- Humayun's Tomb: Form, Function, and Meaning in Early Mughal Architecture, by Glenn D. Lowry, 1987
- Humayun Tomb Gardens Revitalisation, 2000s, documents and videos
- Zohreh Bozorg-nia, Mimaran-i Iran. ISBN 964-7483-39-2, 2004, p. 184.
- Mughal Architecture of Delhi : A Study of Mosques and Tombs (1556-1627 A.D.), by Praduman K. Sharma, Sundeep, 2001, ISBN 81-7574-094-9. Chapt 10.
- Garden Tomb of Humayun: An Abode in Paradise, by Neeru Misra and Tanay Misra, Published by Aryan Books International, Delhi, 2003
- Ruggles, D. Fairchild. 1997. Humayun's Tomb and Garden: Typologies and Visual Order. In Gardens in the Time of the Great Muslim Empires: Theory and Design. Attilio Petruccioli (ed). Leiden; New York: E.J. Brill
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง |
พิกัดภูมิศาสตร์: 28°35′36″N 77°15′02″E / 28.593264°N 77.250602°E