รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1]
ที่ตั้ง[แก้]
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
เมืองหลวงพระบาง | ![]() |
แขวงหลวงพระบาง ![]() 19°53′20″N 102°8′0″E / 19.88889°N 102.13333°E |
วัฒนธรรม: (ii), (iv), (v) |
820; พื้นที่กันชน 12,560 | 2538/1995 | หลวงพระบางเป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิมของลาวกับอิทธิพลจากเจ้าอาณานิคมยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 | 479[2] |
วัดพูและการตั้งถิ่นฐานโบราณที่เกี่ยวข้องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์ | ![]() |
แขวงจำปาศักดิ์ ![]() 14°50′54″N 105°49′20″E / 14.84833°N 105.82222°E |
วัฒนธรรม: (iii), (iv), (vi) |
39,000 (96,000) | 2544/2001 | สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ แสดงถึงพัฒนาการในช่วงศตวรรษที่ 5 ถึง 15 ที่เกี่ยวข้องกับอาณาจักรเขมร | 481[3] |
แหล่งไหหินใหญ่ ในเชียงขวาง – ทุ่งไหหิน |
![]() |
แขวงเชียงขวาง ![]() 19°25′51.8″N 103°9′8″E / 19.431056°N 103.15222°E |
วัฒนธรรม: (iii) |
174.56; พื้นที่กันชน 1,012.94 | 2562/2019 | 1587[4] |
สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
ปัจจุบัน ประเทศลาวมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 2 แห่ง ดังนี้[1]
- ปี พ.ศ./ค.ศ. ในวงเล็บ หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น
- พระธาตุหลวงแห่งเวียงจันทน์ (2535/1992)
- เขตป่าสงวนแห่งชาติหีนหนามหน่อ (2559/2016)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Laos". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2015.
- ↑ "Town of Luang Prabang". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Megalithic Jar Sites in Xiengkhuang – Plain of Jars". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.