รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินโดนีเซีย
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียทั้งสิ้น 9 แหล่ง[1]
ที่ตั้ง[แก้]
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]
แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
กลุ่มวัดโบโรบูดูร์ | ![]() |
จังหวัดชวากลาง ![]() 7°36′28.6″S 110°12′14.6″E / 7.607944°S 110.204056°E |
วัฒนธรรม: (i), (ii), (vi) |
25.51 | 2534/1991 | 592[2] | |
กลุ่มวัดปรัมบานัน | ![]() |
จังหวัดชวากลาง ![]() 7°45′07.3″S 110°29′29.3″E / 7.752028°S 110.491472°E |
วัฒนธรรม: (i), (iv) |
2534/1991 | 642[3] | ||
แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรัน | จังหวัดชวากลาง ![]() 7°27′20.5″S 110°50′03.2″E / 7.455694°S 110.834222°E |
วัฒนธรรม: (iii), (vi) |
5,600 | 2539/1996 | 593[4] | ||
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบัก หลักการตามปรัชญาไตรหิตกรณะ | ![]() |
จังหวัดบาหลี ![]() 8°15′25.8″S 115°24′27.9″E / 8.257167°S 115.407750°E |
วัฒนธรรม: (ii), (iii), (v), (vi) |
19,520 | 2555/2012 | 1194[5] | |
มรดกการทำเหมืองถ่านหินอมบีลินแห่งซาวะฮ์ลุนโต | ![]() |
จังหวัดสุมาตราตะวันตก ![]() 0°40′48.06″S 100°46′34.2″E / 0.6800167°S 100.776167°E |
วัฒนธรรม: (ii), (iv) |
268.18 | 2562/2019 | 1610[6] |
แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
อุทยานแห่งชาติโกโมโด | ![]() |
จังหวัดนูซาเติงการาตะวันออก ![]() 8°36′00.1″S 119°25′16.3″E / 8.600028°S 119.421194°E |
ธรรมชาติ: (vii), (x) |
219,322 | 2534/1991 | 609[7] | |
อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลน | ![]() |
จังหวัดบันเตินและลัมปุง ![]() 6°45′27.0″S 105°20′36.0″E / 6.757500°S 105.343333°E |
ธรรมชาติ: (vii), (x) |
78,525 | 2534/1991 | 608[8] | |
อุทยานแห่งชาติโลเรินตส์ | ![]() |
จังหวัดปาปัวกลาง, ปาปัวใต้, ปาปัวที่สูง ![]() 4°37′17.6″S 137°29′22.1″E / 4.621556°S 137.489472°E |
ธรรมชาติ: (vii), (ix), (x) |
2,350,000 | 2542/1999 | 955[9] | |
มรดกป่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา† | ![]() |
จังหวัดอาเจะฮ์, สุมาตราเหนือ, จัมบี, สุมาตราตะวันตก, สุมาตราใต้, เบิงกูลู และลัมปุง ![]() 3°45′22.8″N 97°10′24.7″E / 3.756333°N 97.173528°E |
ธรรมชาติ: (vii), (ix), (x) |
2,595,124 | 2547/2004 | ถูกขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกที่ตกอยู่ในสภาวะอันตรายเมื่อปี ค.ศ. 2011 | 1167[10][11] |
สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
ปัจจุบัน ประเทศอินโดนีเซียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 19 แห่ง ได้แก่[1]
- ปี พ.ศ./ค.ศ. ในวงเล็บ หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น
- อุทยานแห่งชาติเบอตุงเกอรีฮุน (มรดกป่าฝนเขตร้อนข้ามพรมแดนแห่งบอร์เนียว) (2547/2004)
- อุทยานแห่งชาติบูนาเก็น (2548/2005)
- หมู่เกาะราจาอัมปัต (2548/2005)
- อุทยานแห่งชาติตากาโบเนอราเต (2548/2005)
- อุทยานแห่งชาติวากาโตบี (2548/2005)
- หมู่เกาะเดอราวัน (2548/2005)
- นิคมดั้งเดิมตานาโตราจา (2552/2009)
- แหล่งบาโวมาตาลูโว (2552/2009)
- แหล่งกลุ่มวัดมูวาราตากุซ (2552/2009)
- กลุ่มวัดมูวาราจัมบี (2552/2009)
- โตรวูลัน - เมืองหลวงเก่าแห่งอาณาจักรมัชปาหิต (2552/2009)
- แหล่งถ้ำยุคก่อนประวัติศาสตร์ในมารซ-ปังเก็ป (2552/2009)
- คาสต์ซังกูลีรัง-มังกาลีฮัต : พื้นที่ศิลปะบนหินยุคก่อนประวัติศาสตร์ (2558/2015)
- เมืองเก่าจาการ์ตา (เมืองเก่าปัตตาเวียเดิม) และเกาะรอบนอก 4 เกาะ (อนรุสต์, เกโลร์, จีปีร์ และบีดาดารี) (2558/2015)
- เมืองเก่าเซอมารัง (2558/2015)
- นิคมดั้งเดิมที่นาการีซีจุนจุง (2558/2015)
- ภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์และทางทะเลแห่งหมู่เกาะบันดา (2558/2015)
- ศูนย์กลางนครประวัติศาสตร์ยกยาการ์ตา (2560/2017)
- เกอบุนรายาโบโกร์ (2561/2018)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Indonesia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.
- ↑ "Borobudur Temple Compounds". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Prambanan Temple Compounds". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Sangiran Early Man Site". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Cultural Landscape of Bali Province". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 1 July 2012.
- ↑ "Ombilin Coal Mining Heritage of Sawahlunto". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.
- ↑ "Komodo National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Ujung Kulon National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Lorentz National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Tropical Rainforest Heritage of Sumatra". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 25 June 2011.
- ↑ "Danger listing for Indonesia's Tropical Rainforest Heritage of Sumatra". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 July 2011.