รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นแหล่งมรดกโลกทั้งสิ้น 42 แห่ง[1]
- หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้น ๆ ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก
สถิติ[แก้]
ประเทศ | จำนวนมรดกโลก | ประเภท |
![]() |
วัฒนธรรม 5 แห่ง, ธรรมชาติ 4 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 5 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 3 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 3 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 2 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 2 แห่ง | |
![]() |
วัฒนธรรม 1 แห่ง |
- ประเทศบรูไนและประเทศติมอร์-เลสเตยังไม่มีแหล่งมรดกโลก
กัมพูชา[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา
- 2535/1992 – เมืองพระนคร
- 2551/2008 – ปราสาทพระวิหาร
- 2560/2017 – เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอิศานปุระ
ไทย[แก้]

วัดพระศรีสรรเพชญ์ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย
- 2534/1991 – นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
- 2534/1991 – เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร
- 2534/1991 – เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
- 2535/1992 – แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
- 2548/2005 – กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
- 2564/2021 – กลุ่มป่าแก่งกระจาน
พม่า[แก้]

เมืองพุกาม
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศพม่า
- 2557/2014 – กลุ่มเมืองโบราณอาณาจักรปยู
- 2562/2019 – พุกาม
ฟิลิปปินส์[แก้]
เมืองบีกัน
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟิลิปปินส์
- 2536/1993 – โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์
- 2536/1993 – อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา
- 2538/1995 – นาขั้นบันไดแห่งกลุ่มทิวเขาฟิลิปปินส์
- 2542/1999 – นครประวัติศาสตร์บีกัน
- 2542/1999 – อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา
- 2557/2014 – เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทิวเขาฮามีกีตัน
มาเลเซีย[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมาเลเซีย
- 2543/2000 – อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู
- 2543/2000 – อุทยานกีนาบาลู
- 2551/2008 – มะละกาและจอร์จทาวน์ นครประวัติศาสตร์แห่งช่องแคบมะละกา
- 2555/2012 – มรดกทางโบราณคดีแห่งหุบเขาเล็งกง
ลาว[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว
- 2538/1995 – เมืองหลวงพระบาง
- 2544/2001 – วัดพูและการตั้งถิ่นฐานโบราณที่เกี่ยวข้องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์
- 2562/2019 – แหล่งไหหินใหญ่ในเชียงขวาง – ทุ่งไหหิน
เวียดนาม[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเวียดนาม
- 2536/1993 – หมู่โบราณสถานเมืองเว้
- 2537/1994 – อ่าวหะล็อง
- 2542/1999 – เมืองโบราณฮอยอัน
- 2542/1999 – สถานที่ศักดิ์สิทธิ์หมีเซิน
- 2546/2003 – อุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่าง
- 2553/2010 – ส่วนกลางของป้อมปราการหลวงทังล็อง-ฮานอย
- 2554/2011 – ป้อมปราการของราชวงศ์โห่
- 2557/2014 – แหล่งภูมิทัศน์จ่างอาน
สิงคโปร์[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสิงคโปร์
- 2558/2015 – สวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์
อินโดนีเซีย[แก้]
ดูบทความหลักที่: รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอินโดนีเซีย
- 2534/1991 – กลุ่มวัดโบโรบูดูร์
- 2534/1991 – อุทยานแห่งชาติโกโมโด
- 2534/1991 – กลุ่มวัดปรัมบานัน
- 2534/1991 – อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลน
- 2539/1996 – แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรัน
- 2542/1999 – อุทยานแห่งชาติโลเรินตส์
- 2547/2004 – มรดกป่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา
- 2555/2012 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบัก หลักการตามปรัชญาไตรหิตกรณะ
- 2562/2019 – มรดกการทำเหมืองถ่านหินอมบีลินแห่งซาวะฮ์ลุนโต
อ้างอิง[แก้]
- ↑ World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- (อังกฤษ) Cambodia- UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Thailand - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Myanmar - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Philippines - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Malaysia - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Lao People's Democratic Republic - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Vietnam - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Singapore - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Indonesia - UNESCO World Heritage Centre