รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศกัมพูชาทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1]
ที่ตั้ง[แก้]
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
เมืองพระนคร | ![]() |
จังหวัดเสียมราฐ ![]() 13°24′44.9″N 103°51′55.7″E / 13.412472°N 103.865472°E |
วัฒนธรรม: (i), (ii), (iii), (iv) |
40,100 | 2535/1992 | อังกอร์ หรือ เมืองพระนคร เป็นหนึ่งในแหล่งโบราณคดีที่สำคัญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อุทยานมีพื้นที่กว่า 400 ตารางกิโลเมตร ภายในประกอบด้วยพื้นที่ป่าและซากเมืองหลวงโบราณต่าง ๆ ของอาณาจักรเขมรโบราณตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 15 | 668[2][3] [4] |
ปราสาทพระวิหาร | ![]() |
จังหวัดพระวิหาร ![]() 14°23′26.2″N 104°40′49.1″E / 14.390611°N 104.680306°E |
วัฒนธรรม: (i) |
154.7; พื้นที่กันชน 2,642.5 |
2551/2008 | เป็นศาสนสถานที่สร้างอุทิศให้กับพระศิวะ ตัวปราสาทประกอบด้วยวิหารหลายแห่งที่เชื่อมโยงกันด้วยทางเท้าและบันไดที่มีแกนยาว 800 เมตร สร้างขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์สามารถโยงไปได้ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 และโดดเด่นเป็นพิเศษในด้านสถาปัตยกรรมที่ปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ | 1224[5] |
เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอิศานปุระ | ![]() |
จังหวัดกำปงธม ![]() 12°52′16.9″N 105°02′36.3″E / 12.871361°N 105.043417°E |
วัฒนธรรม: (ii), (iii), (vi) |
840.03; พื้นที่กันชน 2,523.6 |
2560/2017 | แหล่งโบราณคดีแห่งนี้แปลได้ว่า "วัดในผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์" ในภาษาเขมร โดยได้รับการระบุว่าเป็นเมืองอิศานปุระซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรเจนละ เจริญรุ่งเรืองในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 ครอบคลุมพื้นที่ 25 ตารางกิโลเมตรที่ภายในประกอบด้วยกำแพงเมืองและปราสาทหินรูปทรงเหลี่ยมหลายแห่งอันแตกต่างจากสิ่งก่อสร้างโบราณต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 1532[6] |
สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
ปัจจุบัน ประเทศกัมพูชามีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 8 แห่ง ดังนี้[1]
- ปี พ.ศ./ค.ศ. ในวงเล็บ หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น
ชื่อบัญชี | รูปภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท |
---|---|---|---|
กลุ่มปราสาทและโบราณสถานแห่งเมืองเกาะเกร์ | จังหวัดพระวิหาร 13°46′30″N 104°32′50″E / 13.77500°N 104.54722°E |
วัฒนธรรม: (ii) (IV) | |
พนมกูแลน แหล่งโบราณคดีและโบราณสถานแห่งมเหนทรบรพรรต | จังหวัดเสียมราฐ 13°36′46″N 104°6′45″E / 13.61278°N 104.11250°E |
วัฒนธรรม: (iii) (iv) (v) | |
แหล่งโบราณคดีแห่งอองโกโบเร็ยและพนมดา | จังหวัดตาแก้ว 10°48′N 104°57′E / 10.800°N 104.950°E |
วัฒนธรรม: (I) (ii) (IV) | |
เมืองโบราณกรุงอุดงมีชัย | จังหวัดกันดาล 11°49′26″N 104°44′43″E / 11.82389°N 104.74528°E |
วัฒนธรรม: (ii) (IV) | |
ปราสาทหินบึงเมียเลีย | จังหวัดเสียมราฐ 13°28′35″N 104°14′18″E / 13.47639°N 104.23833°E |
วัฒนธรรม: (ii) (iv) | |
กลุ่มปราสาทพระขรรค์กำปุงสวาย | จังหวัดพระวิหาร 13°N 103°E / 13°N 103°E |
วัฒนธรรม: (ii) | |
แหล่งโบราณคดีบันทายฉมาร์ | จังหวัดบันทายมีชัย 14°4′16″N 103°5′59″E / 14.07111°N 103.09972°E |
วัฒนธรรม: (ii) (iii) (IV) | |
ทุ่งสังหาร M-13/ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติทุ่งสังหารก็กตวลแสลง/ พิพิธภัณฑ์ทุ่งสังหารเจงเอก | พนมเปญและจังหวัดกำปงชนัง | วัฒนธรรม: (iii) (iv) (vi) |
สถานที่ที่อาจเสนอในบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
ชื่อบัญชี | รูปภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท |
---|---|---|---|
เมืองพระตะบอง | เทศบาลเมืองพระตะบอง | วัฒนธรรม | |
เมืองกระแจะและกลุ่มอาคารสมัยอาณานิคมในอำเภอโฉลง | จังหวัดกระแจะ | วัฒนธรรม | |
เมืองกำปอต | เทศบาลเมืองกำปอต | วัฒนธรรม | |
ปราสาทหินพนมจีโซรย์ แหล่งโบราณสถานศรีสวรยบรพรรต | จังหวัดตาแกว | วัฒนธรรม | |
พื้นที่มรดกทางธรรมชาติพนมแตบง | จังหวัดพระวิหาร | ธรรมชาติ | |
พื้นที่รักษาสัตว์ปลาโลมา แม่น้ำโขงแปรกกำปี่ | จังหวัดกระแจะ | ธรรมชาติ | |
หินใหญ่พนมน้ำเลีย ของพื้นที่รักษากลุ่มสัตว์ป่าพนมน้ำเลีย | จังหวัดมณฑลคีรี | ธรรมชาติ | |
พื้นที่รักษากลุ่มสัตว์ป่าแปรกประสบ | จังหวัดกระแจะ | ธรรมชาติ | |
อุทยานแห่งชาติพนมกระวาญภาคไต้ | จังหวัดโพธิสัตว์ | ธรรมชาติ | |
พื้นที่รักษากลุ่มสัตว์ป่าตะมาตเป็ย | จังหวัดพระวิหาร | ธรรมชาติ |
ผลการดำเนินงานของประเทศกัมพูชาในองค์การยูเนสโก[แก้]
โครงการยูเนสโก | จำนวนรายการที่ขึ้นทะเบียน | จำนวนรายการที่ขึ้นทะเบียนร่วมกับรัฐอื่น |
---|---|---|
พื้นที่สงวนชีวมณฑล (Biosphere Reserve) | 1 | — |
แหล่งมรดกโลก (World Heritage Sites) | 3 | — |
ความทรงจำแห่งโลก (Memory of the World) | 2 | 1 |
เครือข่ายอุทยานธรณีโลก (Global Geoparks Network) | 0 | — |
เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์สากล (Creative Cities Network) | 0 | — |
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (Intangible Cultural Heritage Lists) | 5 | 1 |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Cambodia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2017.
- ↑ "Angkor". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ 16th session 1992, pp. 37–38, annex VI
- ↑ 28th session 2004, pp. 66–67
- ↑ "Temple of Preah Vihear". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
- ↑ "Temple Zone of Sambor Prei Kuk, Archaeological Site of Ancient Ishanapura". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2017.