รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศบังกลาเทศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศบังกลาเทศทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1][2]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]

สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
รายละเอียด อ้างอิง
นครมัสยิดประวัติศาสตร์แห่งพาเครหาฏ Bagerhat District, Khulna Division
[[22°40′28.1″N 89°44′31.2″E / 22.674472°N 89.742000°E / 22.674472; 89.742000 (Historic Mosque City of Bagerhat)]]
วัฒนธรรม:
(iv)
2528/1985 กลุ่มมัสยิดที่ถูกสร้างขึ้นช่วงสมัยของรัฐสุลต่านเบงกอลในศตวรรษที่ 15 จำนวนกว่า 50 แห่งในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบรัฐสุลต่านเบงกอลอันเป็นรูปแบบพื้นถิ่นของสถาปัตยกรรมอินโด-อิสลาม ซึ่งบางครั้งเรียกว่าสถาปัตยกรรมแบบ 'ข่าน ชหัน' 321[3]
ซากวิหารพุทธที่ปาหาฑปุระ Naogaon District, Rajshahi Division
[[25°01′51.9″N 88°58′37.9″E / 25.031083°N 88.977194°E / 25.031083; 88.977194 (Ruins of the Buddhist Vihara at Paharpur)]]
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (vi)
2528/1985 ซากวิหารพุทธซึ่งเป็นหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมชิ้นสำคัญที่สุดของบังกลาเทศสมัยก่อนที่อิสลามจะเผยแผ่เข้ามา ก่อสร้างราวช่วงราวศตวรรษที่ 8 โดยมีกษัตริย์ราชวงศ์ปาละเป็นผู้อุปถัมภ์ 322[4]
สุนทรพน Khulna Division
[[21°59′26.2″N 89°16′25.7″E / 21.990611°N 89.273806°E / 21.990611; 89.273806 (The Sundarbans)]]
ธรรมชาติ:
(ix), (x)
139,500 (345,000) 2540/1997 พื้นที่ป่าชายเลนในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่เกิดจากการบรรจบกันระหว่างแม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร และแม่น้ำเมฆนาในบังคลาเทศก่อนจะไหลลงอ่าวเบงกอล เป็นที่อยู่อาศัยของพรรณสัตว์ป่ามากกว่า 450 ชนิดโดยเฉพาะนกที่มีมากถึง 290 ชนิด และปลาอีก 120 ชนิด 798[5]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศบังกลาเทศมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 5 แห่ง[6] [7]

ชื่อ ภาพ ที่ตั้ง หมวดหมู่ ปีขึ้นทะเบียน รายละเอียด อ้างอิง
ฮาลุดวิหาร Rajshahi Division วัฒนธรรม 1999 [8]
จากัดดัลวิหาร Rajshahi Division วัฒนธรรม 1999 [9]
ป้อมลาลบาฆ Dhaka Division วัฒนธรรม 1999 [10]
Mahansthangarh and its Environs Rajshahi Division วัฒนธรรม 1999 [11]
The Lalmai-Mainamati Group of monuments Comilla Region วัฒนธรรม 1999 [12]

อ้างอิง[แก้]

  1. "World Heritage List". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  2. "The Criteria for Selection". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 10 September 2011.
  3. "Historic Mosque City of Bagerhat". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  4. "Ruins of the Buddhist Vihara at Paharpur". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  5. "The Sundarbans". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  6. "Tentative Lists". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  7. "Tentative Lists". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  8. "Halud Vihara". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  9. "Jaggadala Vihara". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  10. "Lalbagh Fort". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  11. "Mahansthangarh and its Environs". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.
  12. "The Lalmai-Mainamati Group of monuments". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 13 April 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]