ข้ามไปเนื้อหา

พระพรหมโมลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระพรหมโมลี
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)
ตั้งแต่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การเรียกขานท่านเจ้าคุณ
จวนพระอารามหลวง หรือวัดราษฎร์
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดชีพ หรือ ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ
ผู้ประเดิมตำแหน่งพระพรหมโมลี (ทองสุข สุนฺทราจาโร)
สถาปนาพ.ศ. 2495

พระพรหมโมลี เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะ เดิมเป็นชั้นสามัญ ปัจจุบันเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง[1]

ฐานานุกรม

[แก้]

สมัยที่ราชทินนาม พระพรหมโมลี เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะชั้นสามัญ ผู้ที่ได้รับสมณศักดิ์มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 3 รูป ดังนี้

  • พระปลัด
  • พระสมุห์
  • พระใบฎีกา

ต่อมา เมื่อมีการยกฐานะเป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ผู้ที่ได้รับสมณศักดิ์มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 8 รูป[2] ดังนี้

  • พระครูปลัดสุวัฒนสมาธิคุณ ไพบูลกิจจานุกิจจาทร สังวรสีลสมาจารสังฆานุนายก
  • พระครูวินัยธร
  • พระครูธรรมธร
  • พระครูพิสิฐสรภาณ พระครูคู่สวด
  • พระครูพิศาลสรนาท พระครูคู่สวด
  • พระครูสังฆกิจจาภิรักษ์
  • พระครูสมุห์
  • พระครูใบฎีกา

รายนาม

[แก้]
ลำดับที่ รายนาม วัด ดำรงสมณศักดิ์ หมายเหตุ
1 พระพรหมโมลี (ทองสุข สุนฺทราจาโร) วัดกลางธนรินทร์ พ.ศ. 2495 — ? พระราชาคณะชั้นสามัญ
2 พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร) วัดยานนาวา พ.ศ. 2537 — 2544
3 พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) วัดพิชยญาติการามวรวิหาร พ.ศ. 2548 — 2554 สุดท้ายเป็นสมเด็จพระพุทธชินวงศ์
4 พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) วัดปากน้ำ พ.ศ. 2554 — ปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. กรมศิลปากรเรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 450 หน้า. หน้า 232-235. ISBN 974-417-530-3
  2. "พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์" (pdf). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 8 ข. สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. 5 มีนาคม 2555. p. 3. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)