พระราชาคณะเจ้าคณะรอง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก พระพรหมคุณาภรณ์)
พระราชาคณะเจ้าคณะรอง | |
---|---|
การเรียกขาน | พระเดชพระคุณ |
จวน | วัดราษฎร์,วัดพระอารามหลวง |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
เงินตอบแทน | 20,500 บาท[1] |
พระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ จึงเรียกอีกอย่างว่า รองสมเด็จพระราชาคณะ และโดยสมัยนิยม นิยมตั้งชื่อสมณศักดิ์โดยขึ้นต้นว่า พระพรหมฯ จึงเรียกอีกอย่างว่า พระราชาคณะชั้นพรหม
รายนามพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ในปัจจุบัน
ปัจจุบันมีพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ จำนวน 36 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 22 รูป และ ธรรมยุติกนิกาย 14 รูป ดังนี้
มหานิกาย
Notes
- ↑ วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 โปรดเกล้าฯ ให้ถอดถอนออกจากสมณศักดิ์ เนื่องจากถูกกล่าวหาว่า กระทำการทุจริตและถูกดำเนินคดีอาญา ในความผิดฐานสนับสนุนเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์และปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือ โดยทุจริต
- ↑ ปี พ.ศ. 2566 โปรดเกล้าฯ สถาปนาสมณศักดิ์ในราชทินนามเดิมที่ พระพรหมดิลก โดยให้ถือว่าไม่เคยถูกถอดถอนสมณศักดิ์ และราชทินนามมาก่อน
- ↑ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 โปรดเกล้าฯ ให้ถอดถอนออกจากสมณศักดิ์ เนื่องจากถูกกล่าวหาว่า กระทำการทุจริตและถูกดำเนินคดีอาญา ในความผิดฐานสนับสนุนเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์และปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือ โดยทุจริต
- ↑ ปี พ.ศ. 2567 โปรดเกล้าฯ สถาปนาสมณศักดิ์ในราชทินนามเดิมที่ พระพรหมสิทธิ โดยให้ถือว่าไม่เคยถูกถอดถอนสมณศักดิ์ และราชทินนามมาก่อน
- ↑ ปี พ.ศ. 2565 โปรดพระราชทานราชทินนามใหม่จากเดิม พระมหาโพธิวงศาจารย์ เป็น พระพรหมวชิรปัญญาจารย์
- ↑ ปี พ.ศ. 2565 โปรดพระราชทานราชทินนามใหม่จากเดิม พระธรรมปัญญาบดี เป็น พระพรหมวชิราธิบดี
- ↑ ปี พ.ศ. 2565 โปรดพระราชทานราชทินนามใหม่จากเดิม พระวิสุทธาธิบดี เป็น พระพรหมวชิรมุนี
ธรรมยุติกนิกาย
ราชทินนาม | นาม | วัด | สถาปนา (พ.ศ.) | หมายเหตุ |
พระพรหมมุนี | พระพรหมมุนี (บุญเรือง ปุญฺญโชโต) | วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2562 | อายุ 89 ปี, พรรษา 69 |
พระพรหมวชิรโสภณ | พระพรหมวชิรโสภณ (ศรีจันทร์ ปุญฺญรโต) | วัดบึงพระลานชัย/จังหวัดร้อยเอ็ด | 2564 | อายุ 87 ปี, พรรษา 67 |
พระพรหมวชิรมงคล | พระพรหมวชิรมงคล (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ) | วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2564 | อายุ 94 ปี, พรรษา 62 |
พระพรหมวัชราจารย์ | พระพรหมวัชราจารย์ (พูนศักดิ์ วรภทฺทโก) | วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2564 | อายุ 82, พรรษา 61 |
พระพรหมวชิรากร | พระพรหมวชิรากร (สุนทร สุนฺทราโภ) | วัดราชผาติการามวรวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2564 | อายุ 81, พรรษา 60 |
พระพรหมมงคลวัชราจารย์ | พระพรหมมงคลวัชราจารย์ (ไสว วฑฺฒโน) | วัดศรีสุริยวงศาราม/จังหวัดราชบุรี | 2564 | อายุ 92 ปี, พรรษา 72 |
พระพรหมวชิรเวที | พระพรหมวชิรเวที (อมร ญาโณทโย) | วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2565[6] | อายุ 84 ปี, พรรษา 62 |
พระพรหมวชิรสุธี | พระพรหมวชิรสุธี (อภิพล อภิพโล) | วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก/กรุงเทพมหานคร | 2565[7] | อายุ 87 ปี, พรรษา 67 |
พระพรหมวชิราภรณ์ | พระพรหมวชิราภรณ์ (สนธิ์ อนาลโย) | วัดพุทธบูชา/กรุงเทพมหานคร | 2565[8] | อายุ 90 ปี, พรรษา 70 |
พระพรหมวชิรดิลก | พระพรหมวชิรดิลก (สมาน สุเมโธ) | วัดป่าแสงอรุณ/จังหวัดขอนแก่น | 2566[5] | อายุ 78 ปี, พรรษา 58 |
พระพรหมวชิรสุนทร | พระพรหมวชิรสุนทร (เอื้อม ชุตินฺธโร) | วัดสนามพราหมณ์/จังหวัดเพชรบุรี | 2566[5] | อายุ 88 ปี, พรรษา 62 |
พระพรหมศากยวงศ์วิสุทธิ์ | พระพรหมศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย) | วัดบวรนิเวศวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2567 | อายุ 64 ปี, พรรษา 44 |
พระพรหมวชิราลังการ | พระพรหมวชิราลังการ (บังเอิญ ฐานากโร) | วัดจันทนาราม/จังหวัดจันทบุรี | 2567 | อายุ 88 ปี, พรรษา 68 |
พระพรหมวชิรรังษี | พระพรหมวชิรรังษี (จิรพล อธิจิตฺโต) | วัดบวรนิเวศวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2567 | อายุ 71 ปี, พรรษา 51 |
พระพรหมวชิรวิมล | พระพรหมวชิรวิมล (แสวง ธมฺเมสโก) | วัดบวรนิเวศวิหาร/กรุงเทพมหานคร | 2567 | อายุ 73 ปี, พรรษา 52 |
พระพรหมวัชรสุทธาจารย์ | พระพรหมวัชรสุทธาจารย์ (ทองดี ฐิตายุโก) | วัดอาวุธวิกสิตาราม/กรุงเทพมหานคร | 2567 | อายุ 91 ปี, พรรษา 70 |
ราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ว่าง
บทความที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง
- ↑ "บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป". สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต. 2012-04-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-18. สืบค้นเมื่อ 2017-03-21.
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:0
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่อง ถอดถอนสมณศักดิ์, ตอนที่ 15 ข, เล่ม 135, 30 พฤษภาคม 2561, หน้า 1
- ↑ 4.0 4.1 4.2 ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 139, ตอนที่ 48 ข, 15 พฤศจิกายน 2565, หน้า 2
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว รอพิธีเชิญหิรัญบัฏ พัดยศ ผ้าไตรถวายอย่างเป็นทางการ
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ เล่ม ๑๓๙, ตอน ๑๙ ข, ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ หน้า ๑
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ เล่ม ๑๓๙, ตอน ๑๙ ข, ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ หน้า ๑
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ เล่ม ๑๓๙, ตอน ๑๙ ข, ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ หน้า ๑