ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มพระประวัติ
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| image = ไฟล์:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ.jpg
| สี = red
| ภาพ = ไฟล์:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ.jpg
| title = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3<br>พระองค์เจ้าชั้นเอก
| birth_date = {{วันเกิด|2369|12|10}}
| พระนาม =
| death_date = {{วันตายและอายุ|2446|7|5|2369|12|10}}
| ฐานันดร = พระองค์เจ้าชั้นเอก
| death_style = สิ้นพระชนม์
| วันประสูติ = 10 ธันวาคม พ.ศ. 2369
| father1 = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| วันสิ้นพระชนม์ = {{วันตายและอายุ|2446|7|5|2369|12|10}}
| mother1 = เจ้าจอมมารดาคล้าย ในรัชกาลที่ 3
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
| spouse =
| พระราชบิดา =
| spouse-type =
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| issue1 = 28 พระองค์ <ref>{{อ้างหนังสือ
| พระราชมารดา =
| พระมารดา = เจ้าจอมมารดาคล้าย ในรัชกาลที่ 3
| มารดา =
| พระชายา =
| ชายา =
| หม่อม =
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| พระโอรส/ธิดา = 28 พระองค์ <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
บรรทัด 29: บรรทัด 20:
| จำนวนหน้า = 360
| จำนวนหน้า = 360
}}</ref>
}}</ref>
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
}}
}}
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร''' (10 ธันวาคม พ.ศ. 2369 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446) มีพระนามเดิมว่า '''พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าสิงหรา''' เป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาคล้าย ซึ่งมีเชื้อสายเปอร์เซีย<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 48 | access-date = 2014-10-01 | archive-date = 2017-02-02 | archive-url = https://web.archive.org/web/20170202055641/http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | url-status = dead }}</ref>
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร''' (10 ธันวาคม พ.ศ. 2369 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446) มีพระนามเดิมว่า '''พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าสิงหรา''' เป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาคล้าย ซึ่งมีเชื้อสายเปอร์เซีย<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 48 | access-date = 2014-10-01 | archive-date = 2017-02-02 | archive-url = https://web.archive.org/web/20170202055641/http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | url-status = dead }}</ref>
บรรทัด 43: บรรทัด 34:
| หน้า = หน้าที่
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 490
| จำนวนหน้า = 490
}}</ref> [[รัชกาลที่ 4]] โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมพระอาลักษณ์ และทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ ใน[[รัชกาลที่ 5]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนบดินทรไพศาลโสภณ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมอักษรพิมพการและกำกับศาลรับสั่งชำระความราชตระกูล แล้วทรงเลื่อนเป็นกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ด้วยพระชันษา 77 ปี ในการนี้[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจากพระบรมมหาราชวัง พร้อมด้วยกระบวนแห่นำตามเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ วังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ พระราชทานน้ำสรงพระศพ ทรงสวมพระชฎาพระราชทานแล้ว เชิญพระศพขึ้นพระดิษฐานบนชั้นแว่นฟ้า 2 ชั้น ประกอบพระโกศกุดั่นน้อย มีเครื่องสูงทองแผ่ลวดแวดล้อม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/015/234.PDF ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าราชวรวงษ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ]</ref>
}}</ref> ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมพระอาลักษณ์ และทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนบดินทรไพศาลโสภณ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมอักษรพิมพการและกำกับศาลรับสั่งชำระความราชตระกูล แล้วทรงเลื่อนเป็นกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 ด้วยพระชันษา 77 ปี ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจาก[[พระบรมมหาราชวัง]]พร้อมด้วยกระบวนแห่นำตามเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ วังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ พระราชทานน้ำสรงพระศพ ทรงสวมพระชฎาพระราชทานแล้ว เชิญพระศพขึ้นพระดิษฐานบนชั้นแว่นฟ้า 2 ชั้น ประกอบพระโกศกุดั่นน้อย มีเครื่องสูงทองแผ่ลวดแวดล้อม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/015/234.PDF ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าราชวรวงษ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ]</ref>


==พระโอรสธิดา==
==พระโอรสธิดา==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:03, 17 กันยายน 2564

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
พระองค์เจ้าชั้นเอก
ไฟล์:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ.jpg
ประสูติ10 ธันวาคม พ.ศ. 2369
สิ้นพระชนม์5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 (76 ปี)
พระบุตร28 พระองค์ [1]
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาเจ้าจอมมารดาคล้าย ในรัชกาลที่ 3

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร (10 ธันวาคม พ.ศ. 2369 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446) มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าสิงหรา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาคล้าย ซึ่งมีเชื้อสายเปอร์เซีย[2]

ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือนอ้าย ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2369[3] ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมพระอาลักษณ์ และทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนบดินทรไพศาลโสภณ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับกรมอักษรพิมพการและกำกับศาลรับสั่งชำระความราชตระกูล แล้วทรงเลื่อนเป็นกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 ด้วยพระชันษา 77 ปี ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจากพระบรมมหาราชวังพร้อมด้วยกระบวนแห่นำตามเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ วังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ พระราชทานน้ำสรงพระศพ ทรงสวมพระชฎาพระราชทานแล้ว เชิญพระศพขึ้นพระดิษฐานบนชั้นแว่นฟ้า 2 ชั้น ประกอบพระโกศกุดั่นน้อย มีเครื่องสูงทองแผ่ลวดแวดล้อม[4]

พระโอรสธิดา

ทรงเป็นองค์ต้นราชสกุล “สิงหรา” ทรงเสกสมรสกับหม่อมกลีบ สิงหรา ณ อยุธยา, หม่อมมาลัย สิงหรา ณ อยุธยา และมีหม่อมคนอื่น ๆ อีกหลายคน โดยทรงมีพระโอรสและพระธิดา ดังนี้

  1. หม่อมเจ้าหญิงนัดดา สิงหรา
  2. หม่อมเจ้านพรัตน์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2391) ประสูติแด่หม่อมกลีบ
  3. หม่อมเจ้าหญิงโกสุมภ์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2391 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2462)
  4. หม่อมเจ้าวัชรินทร์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2393 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2462 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ) ประสูติแด่หม่อมกลีบ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรี สุบรรณ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล และทรงมีหม่อมอีก 1 คน คือ หม่อมทองคำ สิงหรา ณ อยุธยา มีโอรสและธิดา คือ
    1. หม่อมราชวงศ์ถนอมวงศ์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับเปลี่ยม สิงหรา ณ อยุธยา มีบุตรธิดา คือ
      1. หม่อมหลวงนัดดาดวง สิงหรา สมรสกับหม่อมเจ้าพงศ์ภูวนาถ ทวีวงศ์
      2. หม่อมหลวงช่วงวิเชียร สิงหรา
      3. หม่อมหลวงจำเนียรเนติ์ สิงหรา
      4. หม่อมหลวงเกษสุดา สิงหรา สมรสกับหม่อมเจ้าพงศ์ภูวนาถ ทวีวงศ์
      5. หม่อมหลวงวิชาชาญ สิงหรา
    2. หม่อมราชวงศ์พงศ์ประยูร สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับเนย สิงหรา ณ อยุธยา มีบุตรธิดา คือ
      1. หม่อมหลวงศยุมพร สิงหรา
      2. หม่อมหลวงสมรทิพย์ สิงหรา
      3. หม่อมหลวงดิศรา สิงหรา
      4. หม่อมหลวงธนาภรณ์ สิงหรา
    3. หม่อมราชวงศ์ตระกูลรัตน์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับชุบ สิงหรา ณ อยุธยา (สกุลเดิม : วังสุวรรณ) มีบุตรธิดา คือ
      1. หม่อมหลวงวิเชียรโชติ สิงหรา
      2. หม่อมหลวงศรีสุคนธ์ สิงหรา
      3. หม่อมหลวงกมลรัตน์ สิงหรา
      4. หม่อมหลวงอุบลรัตน์ สิงหรา
    4. หม่อมราชวงศ์หญิงวัจนา สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา
    5. หม่อมราชวงศ์หญิงยุภาภักตร์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์)
    6. หม่อมราชวงศ์อรรคเรศน์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา
    7. หม่อมราชวงศ์เจตน์จำนง สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา
    8. หม่อมราชวงศ์หญิงวงศ์ขนิษฐ์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์)
    9. หม่อมราชวงศ์กิตติศัพท์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา
    10. หม่อมราชวงศ์ฉบับบูรณ์ สิงหรา มีหม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรีเป็นพระมารดา สมรสกับอรุณ สิงหรา ณ อยุธยา มีบุตรธิดา คือ
      1. หม่อมหลวงรุ่งเรือง สิงหรา
      2. หม่อมหลวงอุทัย สิงหรา
    11. หม่อมราชวงศ์อักษรศิลป์ สิงหรา มีหม่อมทองคำเป็นหม่อมมารดา สมรสกับหม่อมหลวงระทวย สิงหรา (ราชสกุลเดิม : เสนีย์วงศ์) มีบุตรธิดา คือ
      1. หม่อมหลวงยุพินศิลป์ สิงหรา
    12. หม่อมราชวงศ์หญิงยุพินพิทย์ สิงหรา มีหม่อมทองคำเป็นหม่อมมารดา
    13. หม่อมราชวงศ์ประสิทธิ์ศักดิ์ สิงหรา มีหม่อมทองคำเป็นหม่อมมารดา สมรสกับละม่อม สิงหรา ณ อยุธยา
    14. หม่อมราชวงศ์จักรพันธ์ สิงหรา มีหม่อมทองคำเป็นหม่อมมารดา
    15. หม่อมราชวงศ์หญิงภคินี (สิงหรา) วสุธาร
  5. หม่อมเจ้าหญิงกินเรศร์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2395) ประสูติแด่หม่อมกลีบ
  6. หม่อมเจ้าหญิงภคินี สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2398 สิ้นชีพิตักษัย พ.ศ. 2418)
  7. หม่อมเจ้าวงศ์วิจิตร สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2398 พระราชทานเพลิงเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2427)
  8. หม่อมเจ้าพิศวง สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2399 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2450)
  9. หม่อมเจ้าหญิงประสานศัพท์ สิงหรา (ประสูติประมาณ พ.ศ. 2400 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2467) ประสูติแต่หม่อมมาลัย เป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ
  10. หม่อมเจ้าหญิงเกสรา สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2400) ประสูติแด่หม่อมกลีบ
  11. หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม (ประสูติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2401)
  12. หม่อมเจ้าชายไม่ปรากฏพระนาม
  13. หม่อมเจ้าหญิงละอองนวล สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2406
  14. หม่อมเจ้าหญิงผกามาศ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2403) ประสูติแด่หม่อมกลีบ
  15. หม่อมเจ้าหญิงประวาศวรรณ สิงหรา บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าหญิงลวาสวรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2406) ประสูติแด่หม่อมกลีบ
  16. หม่อมเจ้าพาหุรัด สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2407 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2443 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2445)
  17. หม่อมเจ้าไพโรจน์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2409)
  18. หม่อมเจ้าหญิงจรัสศรี สิงหรา หรือ หม่อมเจ้าจำรัสศรี สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2416)
  19. หม่อมเจ้าหญิงจินตนา สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2422 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2432 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2433)
  20. หม่อมเจ้าสุธารส สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2425 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2461 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ) สมรสกับหม่อมเล็ก สิงหรา ณ อยุธยา มีธิดา คือ
    1. หม่อมราชวงศ์หญิงวงศ์สินธุ์ สิงหรา
  21. หม่อมเจ้าหญิงแฉล้ม สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2434 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2471)
  22. หม่อมเจ้ารพีพงศ์ สิงหรา (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2450) มีธิดา คือ
    1. หม่อมราชวงศ์หญิงละม้าย สิงหรา รับราชกาลฝ่ายในเป็นเจ้าจอมพระสนมในรัชกาลที่ 5
  23. หม่อมเจ้าชัชวาลย์ สิงหรา ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ
  24. หม่อมเจ้าหญิงประพาฬรัตน์ สิงหรา (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2444 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2445)
  25. หม่อมเจ้าแสงเมฆ สิงหรา (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 พระราชทานเพลิง ณ วัดสังเวชวิศยาราม เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2460)
  26. หม่อมเจ้าหญิงแย้มเยื้อน สิงหรา
  27. หม่อมเจ้าหญิงวิชุมาลย์ สิงหรา (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2450 พระราชทานเพลิง ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส)
  28. หม่อมเจ้าหญิงสุภาภรณ์ สิงหรา (ประสูติ พ.ศ. 2438 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2439)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  2. กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ (2554). ราชสกุลวงศ์ (PDF). กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. p. 48. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-02. สืบค้นเมื่อ 2014-10-01.
  3. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  4. ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าราชวรวงษ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ถวายบังคมพระบรมรูปและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐, ตอน ๓๔, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖, หน้า๓๖๗
  6. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10 หน้า 470
  7. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

แหล่งข้อมูลอื่น