ไทยลีก ฤดูกาล 2566–67

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก
ฤดูกาล2566–67
วันที่11 สิงหาคม 2566 – 16 มิถุนายน 2567[1]
จำนวนนัด46
จำนวนประตู135 (2.93 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฮามิลตง ซูวาริส
บาร์รอส ทาร์เดลี
วู กึน-ช็อง
(5 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
5 ประตู
ราชบุรี 6–1 โปลิศ เทโร
(16 กันยายน 2566)
การท่าเรือ 6–1 ขอนแก่น ยูไนเต็ด
(30 กันยายน 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
3 ประตู
อุทัยธานี 1–4 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
(12 สิงหาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด7 ประตู
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 5–2 เมืองทอง ยูไนเต็ด
(16 กันยายน 2566)
ราชบุรี 6–1 โปลิศ เทโร
(16 กันยายน 2566)
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 4–3 พีที ประจวบ
(24 กันยายน 2566)
การท่าเรือ 6–1 ขอนแก่น ยูไนเต็ด
(30 กันยายน 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
พีที ประจวบ
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
ลำพูน วอร์ริเออร์
อุทัยธานี
จำนวนผู้ชมสูงสุด16,753 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–0 ตราด
(15 กันยายน 2566)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด1,533 คน
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 3–0 สุโขทัย
(15 กันยายน 2566)
จำนวนผู้ชมรวม212,112 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย4,611 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 2 ตุลาคม 2566

ไทยลีก ฤดูกาล 2566–67 หรือ ไฮลักซ์ รีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2566–67 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ รถกระบะโตโยต้า ไฮลักซ์ รีโว่ เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 27 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร

บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มี นครปฐม ยูไนเต็ด, ตราด และอุทัยธานี เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2 ขึ้นมาเล่นในไทยลีกฤดูกาลนี้

กำหนดการ[แก้]

การแข่งขันไทยลีก ฤดูกาล 2565–66 เริ่มต้นนัดแรกในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2566 จนถึงนัดสุดท้ายในวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2567[1]

ตลาดซื้อ-ขายนักเตะ[แก้]

ตลาดซื้อขายนักเตะรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม ถึง 9 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ส่วนตลาดซื้อขายนักเตะรอบที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2566 ถึง 17 มกราคม พ.ศ. 2567[1]

สโมสร[แก้]

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2565–66 และ 3 สโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565–66 ได้แก่ นครปฐม ยูไนเต็ด และตราด ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาแบบอัตโนมัติจากการที่พวกเขาจบอันดับที่ 1 และ 2 ของตารางคะแนนตามลำดับ และอุทัยธานี ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาจากการชนะเลิศในรอบเพลย์ออฟ

สโมสรที่เข้าและออกจากไทยลีก[แก้]

ตกชั้นจากไทยลีก[แก้]

เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2[แก้]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2565–66
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 13
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ยูทีเอ สเตเดียม 8,600 6
ตราด ตราด สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000 2 (ไทยลีก 2)
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) ทรูสเตเดียม 19,375 2
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 1 (ไทยลีก 2)
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) บีจีสเตเดียม 10,114 9
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 1
โปลิศ เทโร กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) สนามบุณยะจินดา 3,500 7
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 11
เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) ธันเดอร์โดมสเตเดียม 13,000 4
ราชบุรี ราชบุรี ดราก้อน โซลาร์ พาร์ค สเตเดียม 10,000 8
ลำพูน วอร์ริเออร์ ลำพูน แม่กวงสเตเดียม 3,000 10
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย ลีโอ เชียงราย สเตเดียม 13,000 5
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 12
อุทัยธานี อุทัยธานี สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี 4,477 3 (ไทยลีก 2)

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ ไทย โชคทวี พรหมรัตน์
ไทย สุรพงษ์ คงเทพ
ไทย ธนบูรณ์ เกษารัตน์ แกรนด์สปอร์ต เมืองไทยประกันภัย, ลีโอ, การท่าเรือแห่งประเทศไทย1, ซื่อสัตย์ เพื่อชาติ1, อินชัวร์รันส์ โบรคเกอร์2, เมืองไทยประกันชีวิต2, โพคารี่สเวท, บิงเวย์, เจ็ทส์ ฟิตเนส, แบทเทิลวิน
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทย ปฏิภัทร รอบรู้ ฟิลิปปินส์ โจชัว กรอมเมน คัปปา มิตรผล, ลีโอ, ฟิตเนส เฟิรส์ท, ซิก เนเจอร์1, โรงพยาบาลราชพฤกษ์2, ชบา, อาร์เฮงวัฒนา
ชลบุรี ญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ ไทย กฤษดา กาแมน ช้าง, ยูทีเอ, แรบบิท, ยูโร่เค้ก, พานาโซนิค, เอส โคล่า1, ไดกิ้น1, เอไอเอ2, ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น2, กัลฟ์2, โรงพยาบาลสมิติเวช2, โพคารี่สเวท3, ฟิตเนส เฟิรส์ท3
ตราด ไทย สันติ ไชยเผือก ไทย พรปรีชา จารุนัย โวลต์ เมืองไทยประกันภัย2, ช้าง, บางกอกแอร์เวย์ส1, เหลายา โคโค ไอร์แลนด์, โรงพยาบาลกรุงเทพ ตราด
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย ธชตวัน ศรีปาน บราซิล อีเวร์ตง อาริ ทรู, เซเว่น อีเลฟเว่น, ยูโร่เค้ก, โตโยต้า ชัวร์, ไดกิ้น1, ไดเร็คเอเชีย2, เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์, โพคารี่สเวท, ริโก้, โรงพยาบาลสมิติเวช, เจ็ทส์ ฟิตเนส, แครี่บอย, ซีพี-เมจิ
นครปฐม ยูไนเต็ด สิงคโปร์ อักบาร์ นาบาซ ไทย โชคชัย ชูชัย โอเซล ช้าง, เมืองไทยประกันภัย, เจเล่, ไอซ์ แอลอีดี, สุธีชา1, 100 พลัส1, เอส โคล่า1, โออิชิ1, โชคนิพล หมูป่า2, ห้างทองมหานคร 168
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ไทย ธงชัย สุขโกกี ไทย สารัช อยู่เย็น ไนกี้ ลีโอ, บีจี, โคคา-โคล่า, โกหมึก, ยูโร่เค้ก, สตีเบล เอลทรอน1, ยันมาร์1, เมืองไทยประกันภัย2, มิตซูบิชิ อิเล็คทริค2, โนโวเทล, โพคารี่สเวท, คอนติเนนทอล, กรุงเทพประกันภัย, นอติลุส, บีจีซี, โรงพยาบาลกรุงเทพ, คินโช, นิคอน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ออสเตรเลีย อาร์เธอร์ ปาปัส ไทย นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม ช้าง, ยามาฮ่า, โคคา-โคล่า1, ทรู2, ดันลอปพิวโล2, ซีพี แบรนด์2, เมืองไทยประกันชีวิต2, โรงพยาบาลสมิติเวช, พลังงานบริสุทธิ์, พันตา, ยูโร่เค้ก, คิง เพาเวอร์, แอร์เอเชีย, สกาย ไอซีที, แพลน บี มีเดีย, เกเตอเรด, นิคอน
โปลิศ เทโร ไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค กานา ไอแซค ฮันนี เอฟบีที ช้าง, เมืองไทยประกันภัย, เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์, แอร์เอเชีย2, เมืองไทยประกันชีวิต2, เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์, เจบีพี เพ้นท์, เจ็ทส์ ฟิตเนส
พีที ประจวบ ไทย วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน (รักษาการ) ไทย นัสตพล มาลาพันธ์ โวลต์ พีที, ช้าง, ทูเกียร์, เพื่อนเฉลิมชัย, โครัล โฮเทล บางสะพาน1, พีพีพี กรีน คอมเพล็กซ์1, พีที แมกซ์นิตรอน1, ออโตแบคส์1, สหวิริยาสตีลอินดัสตรี2, กาแฟพันธุ์ไทย2, เบ็นดิกซ์2, โพลาร์
เมืองทอง ยูไนเต็ด ไทย อุทัย บุญเหมาะ (รักษาการ) ไทย พิชา อุทรา ชู๊ต ยามาฮ่า, มิตซูบิชิ เฮฟวี อินดัสตรี, เอไอเอ, สามารถเทลคอม, โคคา-โคล่า1, มิตซูบิชิ มอเตอร์ส2, ลีโอ2, อาลาดิน ออนไลน์, วีณาสปอร์ต อินเตอร์เทรด, เจ็ทส์ ฟิตเนส, แอร์เอเชีย, โรงพยาบาลกรุงเทพ, ไทยทิคเก็ตเมเจอร์
ราชบุรี สเปน การ์โลส เปญญา ไทย จักรพันธ์ แก้วพรม อีโก้สปอร์ต ช้าง, ยูโร่เค้ก, เวท อะกริเทค1, ดราก้อน โซลาร์รูฟ2, มาสเตอร์เวท2, แคนนอน, ฮ.โฮมพลัส, เดอะ ว้าว ฟิตเนส ราชบุรี, ออกซิเจนบูสเตอร์, ฐิติกาล แอมบูแลนซ์, กาญจนา เฟรช พอร์ค
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล อาเลชังดรี กามา ไทย ศราวุธ อินทร์แป้น วอริกซ์ ช้าง, เบทาโกร, นิวอารีนา2, กัซซัน ขุนตาล กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท2, เจ็ทส์ ฟิตเนส2, โอ'ยีต
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล กาบรีแยล มากัลไยส์ ไทย ศิวกรณ์ เตียตระกูล แกรนด์สปอร์ต สิงห์ เลมอน โซดา, ทีโอเอ, แอร์แคเรียร์1, สิงห์ ปาร์ค เชียงราย1, โตโยต้า เชียงราย2, ทวียนต์2, อีซูซุ เชียงราย, นิคอน, โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค
สุโขทัย ไทย ชูศักดิ์ ศรีภูมิ
ไทย ลักษณะ คํารื่น
ไทย ปิยะราษฎร์ ลาจังหรีด คัปปา ช้าง, ซีพี แบรนด์, เคาน์เตอร์เซอร์วิส, แซนด์ โมราดา พัทยา1, คาราบาวแดง2, บางกอกแอร์เวย์ส2, เอสซีกรุ๊ป2, เจริญโภคภัณฑ์อาหาร, นมตรามะลิ, ดำสุโขทัย, มนู พุกประเสริฐ, พล.ต.ต.อมรศักดิ์ เกษมก์สิริ
อุทัยธานี สวีเดน มิคาเอล สตาห์เร บราซิล รีการ์ดู ซังตุส เกลเม จีอาร์ซี, อีซูซุ อุทัยธานี, โรงพยาบาลพริ้นซ์ อุทัยธานี, เอชเวลล์1, นายนอง การเกษตร1, ลิน2, ดัชมิลล์, ออปชัน, โปร ไลท์ติง, โพคารี่สเวท, รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไป ไม่เกิน 5 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของ เอเอฟซี ได้อีก 1 คน ส่วนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของอาเซียน สามารถขึ้นทะเบียนได้ไม่จำกัดจำนวน

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 ผู้เล่นรายที่ 4 ผู้เล่นรายที่ 5 ผู้เล่นเอเชีย ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 1 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 2 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 3 อดีตผู้เล่น
การท่าเรือ บราซิล บาร์รอส ทาร์เดลี บราซิล ฮามิลตง ซูวาริส บราซิล เนเกบา อังกฤษ ชาร์ลี คลัฟ ญี่ปุ่น โนโบรุ ชิมูระ อิรัก ฟรานส์ ปุตรอส
ขอนแก่น ยูไนเต็ด บราซิล เบรนเนร์ โกตดิวัวร์ โลเซมี การาบูเอ มาร์ตีนิก ซเตว็อง ล็องกี เกาหลีใต้ ช็อง ฮัน-ช็อล ฟิลิปปินส์ โจชัว กรอมเมน
ชลบุรี บราซิล มูรีลู บราซิล วีลียัง ลีรา แคเมอรูน อียานิก แอม'โบเน โกตดิวัวร์ อามาดู วาตารา เกาหลีใต้ อี ชัน-ดง ฟิลิปปินส์ ปาทริก เดย์โต
ตราด บราซิล อีวังดรู เปาลิสตา บราซิล จอร์จ เฟลลีเป อิสราเอล ลิดอร์ โคเฮน รัฐปาเลสไตน์ ยะชิร อิสละมี ฟิลิปปินส์ อมานี อกินัลโด
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล อีเวร์ตง บราซิล วิลเลี่ยน โมต้า ฝรั่งเศส อามาดู ซูกูนา เลบานอน บัสเซล ญระดิ รัฐปาเลสไตน์ มะห์มูด อีด
นครปฐม ยูไนเต็ด กานา เลสลี อับโลห์ อิหร่าน อามีร์อาลี เชร์จินี ไนจีเรีย อเดโฟลาริน ดูโรซินมี ไนจีเรีย ซามูเอล เอ็นนามานี ญี่ปุ่น ทากุ อิโตะ
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด บราซิล ดานีลู อัลวิส บราซิล วิกตูร์ การ์ดูซู คอสตาริกา เฟรดดี อัลบาเรซ โครเอเชีย เรนาตอ เกลิช อุซเบกิสถาน อีกอร์ เซียร์เกเยฟ สิงคโปร์ อีร์ฟัน ฟันดี สิงคโปร์ อิคซัน ฟันดี สิงคโปร์ ไรฮาน สจวร์ต
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อาเซอร์ไบจาน รามีล ชีดาห์เยฟ กินี ลอนซานา ดูมบูยา อิตาลี นีโกเลา ดูมิตรู เซอร์เบีย โกรัน เคาซิช สโลวีเนีย คาริส วุชกิช เกาหลีใต้ คิม มิน-ฮย็อก มาเลเซีย ดียง กูลส์
โปลิศ เทโร บราซิล แวลิงตง พรีโอรี กานา ไอแซค ฮันนี กานา ควาเม คารีคารี โกตดิวัวร์ บาโบ มาร์ก ล็องดรี เกาหลีใต้ วู กึน-ช็อง ฟิลิปปินส์ เดนนิส วิลลานูเอวา
พีที ประจวบ บราซิล ไอร์ตง บราซิล แดร์เลย์ บราซิล ซามูแวล รอซา อิหร่าน ฌอน ซาเบตการ์ รัฐปาเลสไตน์ ทาเมอร์ เซยัม
เมืองทอง ยูไนเต็ด บราซิล วีลียัง ป๊อปป์ แคเมอรูน ฌ็อง-โกลด บิลลง เซอร์เบีย สเตฟาน ชเชปอวิช
ราชบุรี แอลจีเรีย เมห์ดิ เตอร์กิ กาบูเวร์ดี อัลวิน ฟอร์เตส โกตดิวัวร์ กีโยวันนี ซีโย มาดากัสการ์ เอ็นจีวา ราโคโตฮารีมาลาลา เกาหลีใต้ พัก จุน-ฮ็อง บรูไน ฟาอิค โบลเกียห์ ฟิลิปปินส์ เจสซี เคอร์แรน ประเทศพม่า เฮนพโยวีน
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล เดนนิส มูริลลู บราซิล เฟร์ไรรา ดุส ซังตุส บราซิล ลุคกา ฝรั่งเศส อาลี ซิสโซโก ซีเรีย มุฮัมมัด ออสมัน ฟิลิปปินส์ ออสการี เกกโกเนน
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล บิล บราซิล จีเอกู ลังดิส บราซิล เฟลลีปี เวลูซู เซอร์เบีย เวลโก ฟิลิโปวิช เกาหลีใต้ ยู ยง-ฮยอน เกาหลีใต้ คิม จี-มิน
สุโขทัย บราซิล เลอร์ซีอู โซลดา บราซิล ราฟาแอล กัลญาร์ดู เอลซัลวาดอร์ เนลซอน โบนิยา มาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ ญี่ปุ่น เรียวเฮ อาราอิ
อุทัยธานี บราซิล บรีเนร์ บราซิล รีการ์ดู ซังตุส ไนจีเรีย ชิโกซี เอ็มบาห์ เกาหลีใต้ นัม ยุน-แจ อิรัก จีโลน ฮะมัด ประเทศพม่า อองกองมานน์ ประเทศพม่า อองตู

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
นครปฐม ยูไนเต็ด ไทย ธงชัย สุขโกกี แยกทาง 8 พฤษภาคม 2566 ก่อนเริ่มฤดูกาล สิงคโปร์ อักบาร์ นาบาซ 5 มิถุนายน 2566[2]
ชลบุรี ไทย อดุล หละโสะ (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 12 พฤษภาคม 2566 ญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ 13 พฤษภาคม 2566[3]
ตราด ไทย หาญณรงค์ ชุณหะคุณากร แยกทาง 25 พฤษภาคม 2566 ไทย สันติ ไชยเผือก กรกฎาคม 2566
สุโขทัย ไทย ลักษณะ คำรื่น (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ มิถุนายน 2566 ไทย ชูศักดิ์ ศรีภูมิ
ไทย ลักษณะ คำรื่น
มิถุนายน 2566[4]
พีที ประจวบ ไทย ดุสิต เฉลิมแสน ปรับโครงสร้าง ไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล มิถุนายน 2566
ราชบุรี บราซิล ดักกลาส โรดริเกวซ แยกทาง 22 มิถุนายน 2566 สเปน การ์โลส เปญญา 24 มิถุนายน 2566[5]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ ปรับโครงสร้าง 6 สิงหาคม 2566 ออสเตรเลีย อาร์เธอร์ ปาปัส 7 สิงหาคม 2566
อุทัยธานี ไทย ภัทรพล นาประเสริฐ 20 สิงหาคม 2566 อันดับที่ 16 ไทย จักรพันธ์ ปั่นปี 20 สิงหาคม 2566[6]
ไทย จักรพันธ์ ปั่นปี 8 กันยายน 2566 สวีเดน มิคาเอล สตาห์เร 8 กันยายน 2566[7]
เมืองทอง ยูไนเต็ด มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี ลาออก 18 กันยายน 2566[8] อันดับที่ 14 ไทย อุทัย บุญเหมาะ (รักษาการ) 18 กันยายน 2566
พีที ประจวบ ไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล 1 ตุลาคม 2566[9] อันดับที่ 12 ไทย วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน (รักษาการ) 1 ตุลาคม 2566

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 การท่าเรือ 6 4 1 1 18 8 +10 13 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเอลีท รอบลีก
2 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 5 4 1 0 11 1 +10 13 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2 รอบแบ่งกลุ่ม
3 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 5 4 1 0 10 1 +9 13
4 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 6 4 1 1 9 3 +6 13
5 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 6 3 2 1 12 6 +6 11
6 นครปฐม ยูไนเต็ด 6 2 2 2 9 10 −1 8
7 ราชบุรี 6 2 1 3 11 7 +4 7
8 เมืองทอง ยูไนเต็ด 6 2 1 3 9 11 −2 7
9 โปลิศ เทโร 6 2 1 3 10 16 −6 7
10 ตราด 6 1 3 2 5 10 −5 6
11 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 6 1 3 2 7 13 −6 6
12 อุทัยธานี 6 2 0 4 5 11 −6 6
13 ชลบุรี 5 1 2 2 5 7 −2 5
14 พีที ประจวบ 6 1 2 3 8 12 −4 5 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2567–68
15 สุโขทัย 5 1 1 3 3 7 −4 4
16 ลำพูน วอร์ริเออร์ 6 1 0 5 3 12 −9 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 ตุลาคม 2566. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ


อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ชนะเลิศและได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเอลีท 2024–25 รอบแบ่งกลุ่ม
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2567–68
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2566 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2566 อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน POR KKU CBR TRA BKU NPU BGP BRU PTR PTP MTU RBR LPW CRU SKT UTT
การท่าเรือ 6–1 3–1 3–1
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0–0 4–3 2–2
ชลบุรี 0–0 1–0 0–2
ตราด 2–1 2–2 0–0
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 2–0 0–0 3–0
นครปฐม ยูไนเต็ด 2–2 1–2 2–1
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 0–0 5–2 3–0
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–0 3–0
โปลิศ เทโร 3–2 2–2 1–2
พีที ประจวบ 2–2 1–3 1–0
เมืองทอง ยูไนเต็ด 3–1 0–1
ราชบุรี 3–1 0–1 6–1
ลำพูน วอร์ริเออร์ 0–2 2–1 1–2
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 2–0 2–1 3–0
สุโขทัย 0–0 0–1
อุทัยธานี 1–4 0–2 1–0
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 2 ตุลาคม 2566. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ[แก้]

แฮตทริก[แก้]

ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่

คลีนชีตส์[แก้]

ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2566
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย ปฏิวัติ คำไหม ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 4
ไทย ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไทย สรานนท์ อนุอินทร์ ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด
4 ไทย ฉัตรชัย บุตรพรม บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 3
5 ไทย จิรวัฒน์ วังทะพันธ์ ขอนแก่น ยูไนเต็ด 2
ไทย วรวุฒิ สุขุนา ตราด
ไทย บุญยเกียรติ วงศ์ษาแจ่ม อุทัยธานี
8 ไทย ชนินทร์ แซ่เอียะ ชลบุรี 1
ฟิลิปปินส์ ปาทริก เดย์โต ชลบุรี
ไทย วัฒนชัย สระทองจันทร์ นครปฐม ยูไนเต็ด
ไทย รัตนัย ส่องแสงจันทร์ พีที ประจวบ
ไทย พิศาล ดอกไม้แก้ว พีที ประจวบ
ไทย โสภณวิชญ์ รักญาติ เมืองทอง ยูไนเต็ด
ไทย กิตติพันธ์ แสนสุข สุโขทัย

รางวัล[แก้]

รางวัลประจำเดือน[แก้]

เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน ประตูยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร
สิงหาคม ไทย ธชตวัน ศรีปาน ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย จิรวัฒน์ วังทะพันธ์ ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทย สยาม แยปป์ โปลิศ เทโร [12]

รางวัลประจำฤดูกาล[แก้]

ผู้ชม[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด[แก้]

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 33,359 16,753 16,606 16,680 −22.2%
2 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 24,725 10,109 6,346 8,242 +43.6%
3 สุโขทัย 10,567 7,673 2,894 5,284 +50.7%
4 เมืองทอง ยูไนเต็ด 15,372 6,712 3,517 5,124 +1.8%
5 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 15,355 6,500 3,976 5,118 +9.5%
6 การท่าเรือ 13,013 4,733 3,758 4,338 −7.8%
7 ชลบุรี 12,344 4,418 3,959 4,115 −11.6%
8 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 10,857 5,283 1,533 3,619 +41.3%
9 อุทัยธานี 10,569 5,009 2,406 3,523 +284.2%
10 นครปฐม ยูไนเต็ด 10,364 4,848 2,250 3,455 +162.1%
11 โปลิศ เทโร 10,001 4,376 2,478 3,334 +142.3%
12 ลำพูน วอร์ริเออร์ 9,788 3,439 3,129 3,263 +85.8%
13 ราชบุรี 9,730 4,361 2,394 3,243 −11.0%
14 พีที ประจวบ 9,562 3,690 2,563 3,187 +74.0%
15 ตราด 8,499 2,995 2,665 2,833 +203.6%
16 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 8,007 3,736 1,904 2,669 +31.5%
รวม 212,112 16,753 1,533 4,611 +4.1%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2566
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
ทีมที่เล่นในไทยลีก 2 เมื่อฤดูกาลที่แล้ว

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า[แก้]

ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 รวม
การท่าเรือ 4,733 4,522 3,758 13,013
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 6,500 4,879 3,976 15,355
ชลบุรี 3,967 3,959 4,418 12,344
ตราด 2,995 2,665 2,839 8,499
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 5,283 1,533 4,041 10,857
นครปฐม ยูไนเต็ด 4,848 2,250 3,266 10,364
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 8,270 10,109 6,346 24,725
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 16,606 16,753 33,359
โปลิศ เทโร 4,376 2,478 3,147 10,001
พีที ประจวบ 2,563 3,690 3,309 9,562
เมืองทอง ยูไนเต็ด 6,712 5,143 3,517 15,372
ราชบุรี 4,361 2,394 2,975 9,730
ลำพูน วอร์ริเออร์ 3,439 3,129 3,220 9,788
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 2,367 1,904 3,736 8,007
สุโขทัย 2,894 7,673 10,567
อุทัยธานี 3,154 5,009 2,406 10,569

แหล่งที่มา: ไทยลีก

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "ไทยลีก แจ้งกำหนดวันเปิดฤดูกาล การแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพฤดูกาล 2566/67". Thaileague. 7 June 2023. สืบค้นเมื่อ 7 June 2023.
  2. "อัคบาร์ นาวาส นั่งกุนซือ นครปฐม ลุยไทยลีก". siamsport.co.th. siamsport. 5 June 2023.
  3. "ฉลามชล แต่งตั้ง มาโกโตะ เทกุระโมริ คุมทัพ สู้ศึกฤดูกาล 2023/24". mgronline.com. mgronline. 13 May 2023.
  4. สุโขทัยยันเซ็น"โบนีญ่า"คืนรัง - ตั้ง "ชูศักดิ์" เป็นโค้ชคู่
  5. สโมสรราชบุรี นำทีมโดย Carlos Gonzalez Pena เฮดโค้ชชาวสเปน ร่วมเข้าแถลงข่าวเตรียมความพร้อมสำหรับเกมส์การแข่งขันนัดกระชับมิตร
  6. อุทัยธานี ปรับลดบทบาท โค้ชโด ดัน โค้ชโบ้ จักรพันธ์ นั่งกุนซือใหญ่แทน
  7. อุทัยธานี ตั้ง มิคาเอล สตาเรห์ นั่งกุนซือคุมทัพลุยไทยลีก
  8. ผลงานไม่ตรงเป้า! มาริโอ ลา เมืองทอง เซ่นผลงานบุกพ่าย บีจี
  9. จบนัด 6! พีที ประจวบฯแยกทาง "โค้ชวัง"- แข้งนำดาวซัลโวร่วม 3 รายที่ 5 ประตู
  10. "Thai League Top Scorer". www.goal.com.
  11. Thai League 2023/24 Top Assists : สรุปอันดับจอมแอสซิสต์ไทยลีก
  12. "มาแล้ว ! รางวัลยอดเยี่ยมประจำเดือนสิงหาคมของ รีโว่ ไทยลีก". thaileague.co.th. 29 September 2023. สืบค้นเมื่อ 3 October 2023.