ไทยลีก ฤดูกาล 2544/45

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก
ฤดูกาล2544/45
ทีมชนะเลิศบีอีซี เทโรศาสน
ขนะเลิศไทยลีก สมัยที่ 2
ชนะเลิศลีกสูงสุด สมัยที่ 2
ตกชั้นราชนาวีสโมสร
ตำรวจ
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต-กรุงเทพ
เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2545บีอีซี เทโรศาสน
โอสถสภา
อาเชียน คลับ แชมเปียนส์ชิพ ฤดูกาล 2545บีอีซี เทโรศาสน
ผู้ทำประตูสูงสุดวรวุฒิ ศรีมะฆะ
(บีอีซี เทโรศาสน)
ปิติพงษ์ กุลดิลก
(การท่าเรือฯ) 12 ประตู
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
บีอีซี เทโรฯ 4-0 โอสถสภา
ทหารอากาศ 5-1 สินธนา
บีอีซี เทโรฯ 4-0 ทหารอากาศ
โอสถสภา 5-1 พนักงานยาสูบ
บีอีซี เทโรฯ 4-0 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต-กรุงเทพฯ
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
โทรศัพท์ฯ 0-4 สินธนา
จำนวนประตูสูงสุดทหารอากาศ 5-1 สินธนา
โอสถสภา 5-1 พนักงานยาสูบ (6 ประตู)
2543
2545/46

ไทยลีก ฤดูกาล 2544/45 หรือ จีเอสเอ็มไทยลีก ฤดูกาล 2544/45 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ จีเอสเอ็ม เป็นการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก ประกอบด้วย 12 สโมสร โดยสามทีมอันดับสุดท้ายจะตกชั้นไปเล่นใน ไทยลีกดิวิชัน 1 โดยอัตโนมัติ เนื่องจากฝ่ายจัดการแข่งขัน ได้กำหนดให้มีแค่ 10 สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน ในฤดูกาลถัดไป[1] โดยในฤดูกาลนี้ ได้มีการเปลื่ยนผู้สนับสนุนการแข่งขันจาก คาลเท็กซ์ เป็น จีเอสเอ็ม

สโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

สโมสร ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุนบนชุด หัวหน้าผู้ฝึกสอน หมายเหตุ
การท่าเรือฯ แกรนด์ สปอร์ต เครื่องดื่มโค้ก ดาวยศ ดารา
ตำรวจ แกรนด์ สปอร์ต ไม่มี ธัชชัย ปิตะนีละบุตร
ทหารอากาศ เอฟบีที เบียร์สิงห์ ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน
ธนาคารกรุงเทพ แกรนด์ สปอร์ต วีซาการ์ด วิสูตร วิชายา
ธนาคารกรุงไทย เอฟบีที ธนาคารกรุงไทย สมชาติ ยิ้มศิริ
บีอีซี เทโรศาสน อาดิดาส ไทยทีวีสีช่อง 3 พิชัย ปิตุวงศ์
พนักงานยาสูบ อูลสปอร์ต คาร์ลสเบิร์ก อนันต์ อมรเกียรติ
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต-กรุงเทพฯ แกรนด์ สปอร์ต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต โสภิต ภาโนมัย เปลื่ยนชื่อจาก กรุงเทพมหานคร เนื่องจาก มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ได้เข้ามาบริหารทีม[2]
ราชนาวี แกรนด์ สปอร์ต ไม่มี สุรศักดิ์ ตังสุรัตน์
บุญธรรม พันธ์นุช
สินธนา รีบอค ไม่มี สมบัติ ลีกำเนิดไทย
องค์การโทรศัพท์ฯ ล๊อตโต้ ไม่มี พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ
โอสถสภา แกรนด์ สปอร์ต เครื่องดื่มเอ็มสปอร์ต ชัชชัย พหลแพทย์

ตารางคะแนนเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล[แก้]

อันดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
1 บีอีซี เทโรศาสน (C, Q) 22 15 5 2 41 11 +30 50
2 โอสถสภา (Q) 22 13 5 4 34 21 +13 44
3 ธนาคารกรุงเทพ 22 9 8 5 21 17 +4 35
4 ทหารอากาศ 22 8 8 6 23 21 +2 32
5 สินธนา 22 6 12 4 25 21 +4 30
6 การท่าเรือฯ 22 6 10 6 26 23 +3 28
7 ธนาคารกรุงไทย 22 7 7 8 23 23 0 28
8 พนักงานยาสูบ 22 8 2 12 24 35 +11 26
9 องค์การโทรศัพท์ฯ 22 6 6 10 18 24 -6 24
10 ราชนาวี (R) 22 6 3 13 14 31 -17 21
11 ตำรวจ (R) 22 4 7 11 16 24 -8 19
12 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต-กรุงเทพฯ (R) 22 3 9 10 10 24 -14 18
ชนะเลิศและผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก
ผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก
ตกชั้นโดยอัตโนมัติ

ภาพรวมในฤดูกาล[แก้]

ควีนสคัพ[แก้]

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

12 ประตู[3]

11 ประตู

8 ประตู

7 ประตู

6 ประตู

รางวัลประจำฤดูกาล[แก้]

ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมประจำปี[แก้]

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. https://web.archive.org/web/20080921231710/http://www.fat.or.th/web/tpl2001.php การแข่งขันไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก ปี 2001/02 - เว็บไซต์เก่าสมาคมฟุตบอลฯ
  2. สัมภาษณ์ นายคมกฤช นภาลัย: วันเสาร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2560
  3. https://web.archive.org/web/20020407130556/http://scoretoday.com/league/Tha_Shot.html สรุปดาวซัลโวฟุตบอลจีเอสเอ็ม ไทยลีก ถึงวันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม 2545 - scoretoday.com