ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก
ฤดูกาล2564–65
วันที่3 กันยายน 2564 – 4 พฤษภาคม 2565[1]
ทีมชนะเลิศบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ตกชั้นสุพรรณบุรี
สมุทรปราการ ซิตี้
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (รอบแบ่งกลุ่ม)
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (รอบเพลย์ออฟ)[2]
จำนวนนัด240
จำนวนประตู615 (2.56 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฮามิลตง ซูวาริส
(19 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
5 ประตู
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 5–0 โปลิศ เทโร
(9 พฤศจิกายน 2564)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
7 ประตู
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0–7 ชลบุรี
(25 กันยายน 2564)
จำนวนประตูสูงสุด9 ประตู
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 7–2 พีที ประจวบ
(6 เมษายน 2565)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
16 นัด
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
14 นัด
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
สุพรรณบุรี
จำนวนผู้ชมสูงสุด23,046 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–1 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด
(6 เมษายน 2565)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม538,231 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย2,539 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 4 พฤษภาคม 2565

ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65 หรือ ไฮลักซ์ รีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65[3] ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ รถกระบะโตโยต้า ไฮลักซ์ รีโว่ เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 25 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร

บีจี ปทุม ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มี หนองบัว พิชญ, เชียงใหม่ ยูไนเต็ด และ ขอนแก่น ยูไนเต็ด เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2 ขึ้นมาเล่นในไทยลีกฤดูกาลนี้

กำหนดการ

[แก้]

การแข่งขันไทยลีก ฤดูกาล 2564-65 เดิมทีจะเริ่มต้นนัดแรกในวันเสาร์ที่ 31 กรกฎาคม 2564 จนถึงนัดสุดท้ายในวันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม 2565[4] แต่เนื่องด้วยการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย ได้มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น และมีการแพร่กระจายไปในทุกพื้นที่ของประเทศไทยนั้น ทางการกีฬาแห่งประเทศไทย และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จึงขอความร่วมมือจากสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้หลีกเลี่ยง หรือเลื่อนการแข่งขันออกไปก่อน ทำให้สมาคมฯ ตัดสินใจเลื่อนการแข่งขันไทยลีก จากเดิมเริ่มวันที่ 31 กรกฎาคม 2564 เป็นวันที่ 13 สิงหาคม 2564[5] ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2564 บริษัท ไทยลีก จำกัด ได้มีการจัดงานประชุมออนไลน์ เพื่อพูดคุยกับตัวแทนสโมสรในระดับไทยลีก 1-2 สำหรับสถานการณ์การจัดแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพภายในประเทศขึ้น จึงมีข้อสรุปว่าจะขยับปฏิทินการแข่งขัน จากจากเดิมเริ่มวันที่ 13 สิงหาคม 2564 เป็นวันที่ 3 กันยายน 2564[1] การแข่งขันในเลกแรกจะแข่งขันจนถึงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2564 ในขณะที่เลกสองจะแข่งขันระหว่างวันที่ 8 มกราคม 2565 จนถึงวันที่ 4 พฤษภาคม 2565[6]

ตลาดซื้อ-ขายนักเตะ

[แก้]

บริษัท ไทยลีก จำกัด แจ้งวันเปิดตลาดซื้อนักกีฬา ก่อนการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก ในฤดูกาล 2564-65 โดยในตลาดรอบแรก สโมสรสมาชิกสามารถเริ่มทำการซื้อขายและขึ้นทะเบียนนักกีฬาได้ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564 จนถึงวันที่ 3 สิงหาคม 2564 ส่วนตลาดรอบสอง สามารถเริ่มทำการซื้อขายและขึ้นทะเบียนนักกีฬาได้ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2564 จนถึงวันที่ 4 มกราคม 2565[6] แต่ต่อมาไทยลีก และสโมสรสมาชิก มีความเห็นตรงกันตามมติที่ประชุมว่าหากมีการเลื่อนเปิดฤดูกาล 2564–65 ออกไป การดำเนินการในส่วนของตลาดซื้อ-ขายนักเตะ ก็ควรจะมีการปรับเปลี่ยนตามให้เหมาะสมด้วย สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้าใจถึงความจำเป็นและเหตุผลด้านการจัดการแข่งขัน จึงได้ประสานไปยังสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เพื่อร้องขอให้มีการปรับเปลี่ยนโปรแกรมตลาดซื้อ-ขายนักเตะ ครั้งที่ 1 ของฤดูกาล 2564–65 ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ภายในประเทศ สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติรับทราบถึงความจำเป็นของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ และบริษัท ไทยลีก จำกัด จึงอนุญาตให้ปรับเปลี่ยนตลาดซื้อ-ขายนักเตะ ครั้งที่ 1 ใหม่ เป็นวันที่ 3-27 สิงหาคม 2564[7]

สโมสร

[แก้]

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 และ 3 สโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64 ได้แก่ หนองบัว พิชญ และ เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาแบบอัตโนมัติจากการที่พวกเขาจบอันดับที่ 1 และ 2 ของตารางคะแนนตามลำดับ และ ขอนแก่น ยูไนเต็ด ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาจากการชนะเลิศในรอบเพลย์ออฟ ทั้งสามสโมสรต่างเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกได้เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร

สโมสรที่เข้าและออกจากไทยลีก

[แก้]

ตกชั้นสู่ไทยลีก 2

[แก้]

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก

[แก้]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2563-64
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 4 (ไทยลีก 2)
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,600 12
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000 2 (ไทยลีก 2)
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) ทรูสเตเดียม 19,375 5
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 25,000 9
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) บีจีสเตเดียม 10,114 1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 2
โปลิศ เทโร กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) สนามบุณยะจินดา 3,500 11
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 10
เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) ธันเดอร์โดมสเตเดียม 13,000 7
ราชบุรี เอฟซี ราชบุรี ดราก้อน โซลาร์ พาร์ค 10,000 8
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย ลีโอ เชียงราย สเตเดียม 13,000 4
สมุทรปราการ ซิตี้ สมุทรปราการ (บางพลี) สมุทรปราการสเตเดียม 5,100 6
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 15,279 13
หนองบัว พิชญ หนองบัวลำภู พิชญสเตเดียม 6,000 1 (ไทยลีก 2)

การเปลี่ยนแปลงสนามแข่งขันอันเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19

[แก้]

จากสถานการณ์การระบาดทั่วของโควิด-19 ทำให้บางสโมสรที่ตั้งอยู่ในจังหวัดพื้นที่สีแดงเข้มตามที่ ศบค. ประกาศไว้ ไม่สามารถใช้งานสนามเหย้าของตนได้ ทำให้ไทยลีกต้องปรับเปลี่ยนโปรแกรมและสนามแข่งขัน ด้วยการสลับเจ้าบ้านกับทีมเยือน หรือใช้สนามกลางในกรณีที่ทั้ง 2 สโมสรอยู่ในพื้นที่สีแดงเข้ม โดยในตอนแรก จะทำการแข่งขันแบบปิดที่ไม่มีผู้ชมในสนาม[8] อย่างไรก็ตาม ช้างอารีนาเป็นสนามแห่งแรกที่ได้รับอนุญาตให้มีผู้ชมเข้าสนามได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของความจุ โดยผู้ที่จะเข้าชมการแข่งขันได้นั้นต้องได้รับวัคซีนโควิด-19 ตามเกณฑ์ที่หน่วยงานราชการกำหนดมาเรียบร้อยแล้ว[9] ต่อมา สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น, พิชญ สเตเดียม, สิงห์ สเตเดียม ก็ได้รับอนุญาตให้มีผู้ชมเข้าสนามด้วยเช่นกัน

หลังจากที่ ศบค. ได้คลายมาตรการต่าง ๆ ในจังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุดนับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564 ทำให้หลายสโมสรที่อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดกลับมาใช้สนามเหย้าของตนเองตามเดิม[10][11]

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ ประเทศไทย จเด็จ มีลาภ ประเทศสเปน ดาบิด โรเชลา อาริ เมืองไทยประกันภัย, ลีโอ, แอร์เอเชีย, ซื่อสัตย์1, ซิสเท็มมา1, สมุนไพรวังพรม1, เมืองไทยประกันชีวิต2, ทีคิวเอ็ม อินชัวรันส์ โบรกเกอร์2
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา ประเทศบราซิล อิบซง แมลู[a] โอเซล ลีโอเบียร์, เมืองเอกขอนแก่น
ชลบุรี ประเทศไทย สะสม พบประเสริฐ ประเทศไทย เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์ ไนกี้ ช้าง, เอส โคล่า, เซ็นทารา, ยูโร่เค้ก, ไดกิ้น1, เอไอเอ2, อิเดมิตสึ2, ไทยพาณิชย์2, โพคารี่สเวท3, ดับบลิวเอชเอ3
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประเทศไทย สุรชัย จิระศิริโชติ (รักษาการ) ประเทศไทย ศิริศักดิ์ ไฝดง แกรนด์สปอร์ต มูส, เจเล่, เวียดเจ็ทแอร์
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ประเทศออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ ประเทศบราซิล อีเวร์ตง อาริ ทรู, หัวเว่ย, ไดกิน1, ซีพี2
นครราชสีมา มาสด้า ประเทศอังกฤษ เควิน แบล็กเวลล์ ประเทศไทย เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว เกลเม มาสด้า, กัลฟ์, จีเอสแบตเตอรี1, ซีพี2, ลีโอ2
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ ประเทศไทย สุรชาติ สารีพิมพ์ วอริกซ์ ลีโอ, ยูเมะพลัส, เรพาริล, ยูโร่เค้ก
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ ประเทศไทย นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม ช้าง, ยามาฮ่า, ทรู, แกร็บ, โคคา-โคล่า1, แรบบิท1, ซีพี2, เมืองไทยประกันชีวิต2, สปอนเซอร์2, เงินติดล้อ2, แอร์เอเชีย3
โปลิศ เทโร ประเทศไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค ประเทศไทย ธีรเทพ วิโนทัย เอฟบีที เบียร์ช้าง, ซีพี, เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์, ไทยยูเนี่ยน, แอร์เอเชีย1, เมืองไทยประกันชีวิต2, ไฮ-วิว2
พีที ประจวบ ประเทศไทย อิสระ ศรีทะโร ประเทศไทย อดุลย์ หมื่นสมาน แกรนด์สปอร์ต พีที, ลีโอ2, ทิปโก้2, เบ็นดิกซ์2
เมืองทอง ยูไนเต็ด มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี ประเทศไทย สุพร ปีนะกาตาโพธิ์ ซู๊ต ยามาฮ่า, สามารถ, เฮอร์บาไลฟ์, เอไอเอ1, ลีโอ2
ราชบุรี มิตรผล ประเทศโปรตุเกส บรูนู ปึไรรา ประเทศไทย ปวีร์ ตัณฑะเตมีย์ ซู๊ต มิตรผล, ช้าง, ยูโร่เค้ก, คูโบต้า, หนองโพ1, บ้านปู1, เอไอเอ2
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล แอแมร์ซง เปเรย์รา ประเทศไทย พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล แกรนด์สปอร์ต ลีโอ,ไทยเวียดเจ็ท,ทีโอเอ,บีฮีโร่,ไทย- เดนมาร์ค,สิงห์ปาร์ค1,แอร์แคเรียร์1,

โตโยต้าเชียงราย2, บีจีเอฟ2,เมืองไทยประกันชีวิต2

สมุทรปราการ ซิตี้ ประเทศญี่ปุ่น ยาซูชิ โยชิดะ ประเทศไทย ชญาวัต ศรีนาวงษ์ ช้าง, กุ๊ก1, แอร์เอเชีย2, มูลนิธิรามาธิบดี2
สุพรรณบุรี ประเทศไนจีเรีย อเดบาโย กาเดโบ ประเทศฝรั่งเศส โลเซมี การาบูเอ วอริกซ์ ช้าง, ทรู, บีเอ็นเอช1, โออิชิ2
หนองบัว พิชญ ประเทศไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล ประเทศไทย ยุทธพงษ์ ศรีละคร วอริกซ์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต, ลีโอ, ไทย- เดนมาร์ค, เมืองไทยประกันภัย2
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง
  1. เนื่องจากโดกลัส คูบู กัปตันทีม ไม่ได้ลงทะเบียนเป็นผู้เล่นในการแข่งขันไทยลีก

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไป ไม่เกิน 3 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของ เอเอฟซี ได้อีก 1 คน ส่วนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของอาเซียน สามารถขึ้นทะเบียนได้ไม่จำกัดจำนวน[12]

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 ผู้เล่นเอเชีย ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 1 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 2 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 3 อดีตผู้เล่น
การท่าเรือ ประเทศเอลซัลวาดอร์ เนลซอน โบนิยา ประเทศสเปน ดาบิด โรเชลา ประเทศสเปน เซร์ฆิโอ ซัวเรซ ประเทศเกาหลีใต้ โก ซึล-กี ประเทศฟิลิปปินส์ มาร์ติน สตูเบิล ประเทศมาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ
ประเทศฟิลิปปินส์ ฆาบิเอร์ ปาติญโญ
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล เอเลฟ วิเอร่า ซานโตส ประเทศบราซิล โรมูลู กาบรัล ประเทศบราซิล อิบซง แมลู รัฐปาเลสไตน์ ยาเซียร์ อิสลามี ประเทศฟิลิปปินส์ โจชัว กรอมเมน ประเทศบราซิล โดกลัส คูบู
ชลบุรี ประเทศบราซิล เดนนิส มูริลลู ประเทศอิสราเอล จิดี คานยุค ประเทศโครเอเชีย เรนาตอ เกลิช ประเทศเกาหลีใต้ ยู บย็อง-ซู ประเทศมาเลเซีย จูเนียร์ เอลด์สตอล ประเทศบรูไน ฟาอิค โบลเกียห์
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล บิล ประเทศบราซิล เอฟสัน ปาทริซิโอ ประเทศโกตดิวัวร์ อียานิก บอลี ประเทศญี่ปุ่น เซร์คิโอ เอสคูเอโร ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมลวิน เดอ ลูว์
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล เอเบร์ชี ประเทศบราซิล อีเวร์ตง ประเทศบราซิล วังเดร์ ประเทศออสเตรเลีย แอนโธนี คาร์เตอร์ ประเทศฟิลิปปินส์ ไมเคิล ฟาลเคสการ์ด
นครราชสีมา มาสด้า ประเทศโกตดิวัวร์ อามาดู วาตารา ประเทศกานา ควาเม คารีคารี ประเทศอังกฤษ ชาร์ลี คลัฟ ประเทศญี่ปุ่น ชินตาโระ ชิมิซุ ประเทศฟิลิปปินส์ เดนนิส วิลลานูเอวา ประเทศฟิลิปปินส์ ดิลลัน เดอ บรุคเกอร์ ประเทศออสเตรีย มาร์โก ซาฮาเน็ค
ประเทศออสเตรเลีย ควาเบนา แอปเปียห์
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล วิกตูร์ การ์ดูซู ประเทศบราซิล จีโอกู ลูอิส ซังตู ประเทศเวเนซุเอลา อันเดรส ตุญเญซ ประเทศสิงคโปร์ อีร์ฟัน ฟันดี ประเทศสิงคโปร์ อิคซัน ฟันดี ประเทศญี่ปุ่น เรียว มัตสึมูระ
ประเทศฟิลิปปินส์ เควิน อินเกรโซ
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล จีเกา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก โจนาธาน โบลิงกี ประเทศเคนยา อายุบ มาซิกา ประเทศอิรัก รีบีน ซูลากอ ประเทศพม่า อองตู ประเทศบราซิล ไมกง มาร์กิส
ประเทศบราซิล ซามูแวล รอซา
โปลิศ เทโร ประเทศบราซิล เอวานโดร เปาลิสต้า ประเทศกานา ไอแซค ฮันนี ประเทศกานา เลสลี่ย์ อับโบห์ ประเทศญี่ปุ่น เรียว มัตสึมูระ ประเทศเยอรมนี ริชาร์ด ซูคุต้า ปาซู
ประเทศมาเลเซีย โดมินิก ตัน
ประเทศเกาหลีใต้ ยาง จุน อา
พีที ประจวบ ประเทศบราซิล เฟร์ไรรา ดอส ซานโตส ประเทศบราซิล วิลเลี่ยน โมต้า ประเทศมอนเตเนโกร อัดนัน ออราฮอวัช ประเทศเลบานอน ซุนนี ซาอัด ประเทศฟิลิปปินส์ แพทริค ไรเชลท์ ประเทศฟิลิปปินส์ อามิน นาซารี ประเทศอินโดนีเซีย ยันโต บัซนา
เมืองทอง ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ลูคัส โฮช่า ประเทศบราซิล วีลียัง ป๊อปป์ ประเทศเอสโตเนีย เฮนรี อานิเยร์ ประเทศอุซเบกิสถาน ซาร์ดอร์ มีร์ซาเยฟ ประเทศฟิลิปปินส์ แจสเปอร์ นีโฮล์ม ประเทศออสเตรเลีย เจสซี เคอร์แรน
ราชบุรี มิตรผล ประเทศบราซิล แดร์เลย์ ประเทศบราซิล ราฟาแอล แจนเซน มาร์ตีนิก ซเตว็อง ล็องกี ประเทศจอร์แดน ราจาอี อาเยด ประเทศฟิลิปปินส์ แบรนด์ ชิปมันน์ ประเทศฟิลิปปินส์ ไดซูเกะ ซาโต สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก จูเนียร์ มาปูกู
ประเทศอิหร่าน วาฟา ฮาคามาเนชี
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เซบัสเตียง วือทริช
ประเทศฟิลิปปินส์ ลุค วู้ดแลนด์
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล บรีเนร์ ประเทศบราซิล ฟีลีปี อามูริม ประเทศบราซิล เก็ตเตอร์ซง ประเทศญี่ปุ่น โคเฮ คาโตะ ประเทศเกาหลีใต้ โช จี-ฮุน
ประเทศบราซิล บิล
สมุทรปราการ ซิตี้ ประเทศบราซิล ซามูแวล รอซา ประเทศสโลวีเนีย อาริส ซารีโฟวิช ประเทศญี่ปุ่น ไดซูเกะ ซากาอิ ประเทศญี่ปุ่น ยูโตะ โอโนะ ประเทศลาว พุดทะไซ โคจะเลิน ประเทศฟิลิปปินส์ เควิน อินเกรโซ ประเทศบราซิล เอลียังดรู
สุพรรณบุรี ประเทศบราซิล ดานีลู อัลวิส ประเทศบราซิล วิลเลียม เอ็งรีกี ประเทศฝรั่งเศส โลเซมี การาบูเอ ประเทศเกาหลีใต้ ช็อง ฮัน-ช็อล ประเทศฟิลิปปินส์ ปาทริก เดย์โต ประเทศบราซิล จีเอกู โลเรนซี
ประเทศฟิลิปปินส์ แพทริค ไรเซลท์
ประเทศฟิลิปปินส์ ไดซูเกะ ซาโตะ
ประเทศอิหร่าน ฮาเหม็ด ลาติฟ
หนองบัว พิชญ ประเทศบราซิล ไอร์ตัน ประเทศบราซิล ฮามิลตง ซูวาริส ประเทศบราซิล บาร์รอส ทาร์เดลี รัฐปาเลสไตน์ มะห์มูด อีด ประเทศฟิลิปปินส์ อมานี อกีนัลโด ประเทศฟิลิปปินส์ เอียน แรมซีย์ ประเทศอิสราเอล ลิดอร์ โคเฮน
ประเทศอิหร่าน มาฮาน รามานี

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
พีที ประจวบ ประเทศไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล แยกทาง มีนาคม 2564 ก่อนเริ่มฤดูกาล ประเทศญี่ปุ่น มาซามิ ทากิ 30 มีนาคม 2564[16]
หนองบัว พิชญ ประเทศไทย สมชาย ชวยบุญชุม เมษายน 2564 ประเทศไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล 4 พฤษภาคม 2564[17]
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศไทย ดุสิต เฉลิมแสน ปรับโครงสร้าง ประเทศออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ 30 พฤษภาคม 2564[18]
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประเทศเยอรมนี เดนนิส อามาโต หมดสัญญา ประเทศไทย สุรพงษ์ คงเทพ 15 มิถุนายน 2564[19]
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ประเทศไทย ปฏิภัทร รอบรู้ ปรับโครงสร้าง พฤษภาคม 2564 ประเทศบราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา 10 พฤษภาคม 2564[20]
การท่าเรือ ประเทศไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ กรกฎาคม 2564 ประเทศไทย ดุสิต เฉลิมแสน 20 กรกฎาคม 2564[21]
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประเทศไทย สุรพงษ์ คงเทพ ลาออก 10 ตุลาคม 2564 อันดับที่ 15 ประเทศบราซิล ไอล์ตง ซิลวา 10 ตุลาคม 2564[22]
การท่าเรือ ประเทศไทย ดุสิต เฉลิมแสน 10 พฤศจิกายน 2564[23] อันดับที่ 8 ประเทศไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ (รักษาการ) 11 พฤศจิกายน 2564[24]
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ แยกทาง 14 พฤศจิกายน 2564[25] อันดับที่ 3 ประเทศไทย ดุสิต เฉลิมแสน 14 พฤศจิกายน 2564[26]
พีที ประจวบ ประเทศญี่ปุ่น มาซามิ ทากิ 15 พฤศจิกายน 2564[27] อันดับที่ 14 ประเทศไทย อิสระ ศรีทะโร 15 พฤศจิกายน 2564[28]
สมุทรปราการ ซิตี้ ประเทศญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ 27 พฤศจิกายน 2564[29] อันดับที่ 13 ประเทศญี่ปุ่น ยาซูชิ โยชิดะ 11 ธันวาคม 2564[30]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล อาเลชังดรี กามา 28 พฤศจิกายน 2564[31] อันดับที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ 1 ธันวาคม 2564[32]
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศไทย ดุสิต เฉลิมแสน 17 มกราคม 2565 อันดับที่ 5 ประเทศไทย สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ (รักษาการ) 17 มกราคม 2565[33]
ราชบุรี มิตรผล ประเทศไทย สมชาย ไม้วิลัย ลาออก 26 มกราคม 2565[34] อันดับที่ 12 ประเทศโปรตุเกส บรูนู ปึไรรา กุมภาพันธ์ 2565
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศไทย สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 27 มกราคม 2565 อันดับที่ 5 ประเทศญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ 27 มกราคม 2565[35]
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ไอล์ตง ซิลวา ลาออก 5 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 16 ประเทศไทย สุรชัย จิระศิริโชติ (รักษาการ) 5 กุมภาพันธ์ 2565[36]
การท่าเรือ ประเทศไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ (รักษาการ) 21 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 7 ประเทศไทย วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน (รักษาการ) 21 กุมภาพันธ์ 2565[37]
การท่าเรือ ประเทศไทย วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 5 มีนาคม 2565 อันดับที่ 8 ประเทศไทย จเด็จ มีลาภ 5 มีนาคม 2565[38]
นครราชสีมา มาสด้า ประเทศไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น ลาออก 8 มีนาคม 2565 อันดับที่ 12 ประเทศอังกฤษ เควิน แบล็กเวลล์ 12 มีนาคม 2565[39]
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ประเทศไทย ธชตวัน ศรีปาน ปรับโครงสร้าง 11 มีนาคม 2565 อันดับที่ 4 ประเทศออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ 11 มีนาคม 2565

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (C, Q) 30 19 5 6 48 19 +29 62 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24 รอบแบ่งกลุ่ม
2 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (Q) 30 17 9 4 52 27 +25 60 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
3 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 30 15 8 7 53 30 +23 53
4 เมืองทอง ยูไนเต็ด 30 13 10 7 46 35 +11 49
5 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 30 13 8 9 33 35 −2 47[a]
6 หนองบัว พิชญ 30 13 8 9 42 35 +7 47[a]
7 ชลบุรี 30 12 8 10 50 40 +10 44
8 การท่าเรือ 30 11 6 13 41 37 +4 39
9 นครราชสีมา มาสด้า 30 10 7 13 33 47 −14 37[b]
10 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 30 10 7 13 30 43 −13 37[b]
11 โปลิศ เทโร 30 8 13 9 33 39 −6 37[b]
12 ราชบุรี มิตรผล 30 9 9 12 32 36 −4 36
13 พีที ประจวบ 30 8 7 15 30 45 −15 31
14 สุพรรณบุรี (R) 30 8 6 16 35 49 −14 30 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565–66
15 สมุทรปราการ ซิตี้ (R) 30 6 10 14 29 42 −13 28
16 เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (R) 30 4 7 19 28 56 −28 19
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
กฏการจัดอันดับ: ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[40]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า หนองบัว พิชญ: หนองบัว พิชญ 1–2 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด, ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 2–1 หนองบัว พิชญ
  2. 2.0 2.1 2.2 ผลมินิลีกของนครราชสีมา มาสด้า (7 คะแนน) ดีกว่าขอนแก่น ยูไนเต็ด (6 คะแนน) และโปลิศ เทโร (2 คะแนน)


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม ╲ รอบ123456789101112131415161718192021222324252627282930
การท่าเรือ5114732565687654446777788889988
ขอนแก่น ยูไนเต็ด158121415161615151213111313121010111010999999881010
ชลบุรี11103125477544443333334556555757
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด141316161315151616161616161616161616161616161616161616161616
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด348474322221112122222233333333
นครราชสีมา มาสด้า1616111287111288789910129999111212121313121199
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด10161068644333335555443322222222
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด1221311111112221211111111111111
โปลิศ เทโร4151515161399111010121011991110111110101010101110101111
พีที ประจวบ8141481214141113141414141515151515151514141413111213131313
เมืองทอง ยูไนเต็ด791161111756756576664555665766444
ราชบุรี มิตรผล277111412101012131213111011111212121312111111121011121212
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด635943233465867777666444444675
สมุทรปราการ ซิตี้95225688991110121213131413141415151515151515151415
สุพรรณบุรี13129599121414151515151414141314131213131314141414141514
หนองบัว พิชญ16101310101313101199788888888877677566
ชนะเลิศและได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24 รอบแบ่งกลุ่ม
ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565–66
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ทีม ╲ รอบ123456789101112131415161718192021222324252627282930
การท่าเรือDDWLWWLDWLLWWWWDDLLWLLLLDWLLWL
ขอนแก่น ยูไนเต็ดLWLLLDLWLWDWLLWWDLWDWWLLDDWDLL
ชลบุรีDDWWLLWLDWWWWDWDLWWLLLDDLWWLDL
เชียงใหม่ ยูไนเต็ดLDLDWLLLDLLLLLLLDLLWWLLDLDLDWL
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ดWDLWWWWWLDWWWWLDLLWDLDDDWWDLWW
นครราชสีมา มาสด้าLLWDWDLLWWWDLDLWDWLLLDLDLLWWWL
บีจี ปทุม ยูไนเต็ดDWWLLWWWWWDWLLDDDDWDWDWDWWWWWW
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ดDWWLWWWWWWLDLWWWWWDLWWWWWLDDWL
โปลิศ เทโรDLLDLWWDLWDLWDWLDDDDWDDLDLWDLW
พีที ประจวบDLDWLLDWLLLLLDDLLLWWWDWWWLLLDL
เมืองทอง ยูไนเต็ดDDWLDWLWWLWDWLWDDWLWDLDWDWDWLW
ราชบุรี มิตรผลWLDLDWDLLLWLWWLDLLDDWWDLLWLDDW
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ดDWDLWWWLWLLWLWLWWLDWLWDWDLDDDW
สมุทรปราการ ซิตี้DWWDLLDDLWLDLLLDDDLLLDWDLLLWWL
สุพรรณบุรีDDDWLDLLLLLLLWWWLWWLLWLLDDLLLW
หนองบัว พิชญWLLWDLLWDWDWWLLDWDWDDLWWWLWDLW
อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน POR KKU CBR CMU BKU NRM BGP BRU PTR PTP MTU RBM CRU SPC SPB NPY
การท่าเรือ 2–0 1–2 1–2 1–1 3–2 1–0 0–2 3–3 2–0 1–0 1–0 0–0 0–2 2–0 3–0
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0–0 0–7 2–1 0–1 1–1 2–2 0–0 1–1 2–1 2–1 0–2 0–1 1–0 2–0 1–0
ชลบุรี 3–2 2–0 1–1 1–1 1–2 1–1 2–0 1–2 2–1 1–1 3–0 2–3 2–1 1–0 3–1
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด 0–2 0–2 1–1 1–2 1–1 1–3 1–4 1–0 0–1 1–1 1–2 0–1 2–0 1–2 1–3
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 1–1 2–2 1–0 4–2 2–2 1–1 2–0 5–0 2–1 3–1 0–0 3–0 2–0 5–2 1–1
นครราชสีมา มาสด้า 3–1 1–2 0–0 2–2 0–2 0–0 0–3 1–0 2–3 2–0 1–0 1–0 1–0 2–1 0–4
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 2–1 2–1 4–1 4–1 1–0 3–0 1–0 0–3 7–2 2–1 2–0 0–2 1–0 2–0 1–1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–1 4–0 2–1 4–0 1–0 2–0 0–1 3–1 1–2 2–0 2–0 1–1 2–1 0–0 0–0
โปลิศ เทโร 2–1 1–1 2–0 1–0 1–4 0–1 1–1 2–2 0–0 0–2 2–2 3–2 1–1 1–0 1–1
พีที ประจวบ 1–0 0–1 1–2 2–1 1–0 1–2 0–0 0–2 1–1 2–2 1–0 1–3 0–0 1–2 2–3
เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–1 3–1 3–3 2–0 3–1 4–1 2–2 0–1 2–1 2–1 2–1 1–1 5–2 2–1 1–1
ราชบุรี มิตรผล 3–2 2–1 2–2 2–0 1–2 3–2 1–1 1–2 0–0 2–0 0–1 0–1 0–0 2–1 3–2
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 0–4 1–0 1–0 0–0 0–4 3–2 1–2 0–1 0–0 1–2 0–1 0–0 2–2 2–2 2–1
สมุทรปราการ ซิตี้ 2–2 2–1 1–2 1–3 3–1 1–1 0–3 0–1 1–1 0–0 0–0 2–1 1–2 1–2 2–2
สุพรรณบุรี 2–1 2–4 2–1 2–2 2–0 2–0 0–2 2–1 1–2 2–2 1–1 1–1 0–1 1–2 1–3
หนองบัว พิชญ 0–1 1–0 3–2 3–1 1–0 2–0 3–1 0–3 1–0 1–0 0–0 1–1 1–2 0–1 2–1
ที่มา: ไทยลีก
สัญลักษณ์: สีฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ

สถิติ

[แก้]

แฮตทริก

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
ประเทศบราซิล เดนนิส มูริลลู4 ชลบุรี ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0–7 (A) 25 กันยายน 2564
ประเทศไทย วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ ชลบุรี ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0–7 (A) 25 กันยายน 2564
ประเทศบราซิล บิล ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด ชลบุรี 2–3 (A) 1 ตุลาคม 2564
ประเทศสเปน เซร์ฆิโอ ซัวเรซ การท่าเรือ ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 0–4 (A) 14 พฤศจิกายน 2564
ประเทศบราซิล แดร์เลย์ ราชบุรี มิตรผล หนองบัว พิชญ 3–2 (H) 21 พฤศจิกายน 2564
ประเทศสิงคโปร์ อิคซัน ฟันดี4 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด พีที ประจวบ 7–2 (H) 6 เมษายน 2565
ประเทศบราซิล เอเบร์ชี ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด สุพรรณบุรี 5–2 (H) 1 พฤษภาคม 2565

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 4 พฤษภาคม 2565
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ประเทศไทย ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 16
2 ประเทศไทย วรวุฒิ ศรีสุภา การท่าเรือ 10
3 ประเทศไทย อภิรักษ์ วรวงษ์ ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 9
4 ประเทศไทย ชนินทร์ แซ่เอียะ ชลบุรี 7
ประเทศฟิลิปปินส์ ไมเคิล ฟาลเคสการ์ด ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ฉัตรชัย บุตรพรม บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
ประเทศไทย กัมพล ปฐมอรรฆย์กุล ราชบุรี มิตรผล
ประเทศไทย กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ หนองบัว พิชญ
9 ประเทศไทย พิศาล ดอกไม้แก้ว นครราชสีมา มาสด้า 6
ประเทศไทย ขวัญชัย สุขล้อม พีที ประจวบ
ประเทศไทย ปฏิวัติ คำไหม สมุทรปราการ ซิตี้
12 ประเทศไทย กิตติพงศ์ ภูแถวเชือก โปลิศ เทโร (1) / บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (4) 5
13 ประเทศไทย ยศพล เทียงดาห์ ขอนแก่น ยูไนเต็ด 4
ประเทศไทย พีระพงษ์ เรือนนินทร์ เมืองทอง ยูไนเต็ด
15 ประเทศไทย จิรวัฒน์ วังทะพันธ์ ขอนแก่น ยูไนเต็ด 3
ประเทศไทย วรุฒ เมฆมุสิก ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ประสิทธิ์ ผดุงโชค โปลิศ เทโร (3) / บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (0)
ประเทศไทย สินทวีชัย หทัยรัตนกุล โปลิศ เทโร (3)
ประเทศไทย สมพร ยศ เมืองทอง ยูไนเต็ด
ประเทศฟิลิปปินส์ ปาทริก เดย์โต สุพรรณบุรี
21 ประเทศไทย กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ การท่าเรือ (2) 2
ประเทศไทย ธณชัย หนูราช นครราชสีมา มาสด้า
ประเทศไทย สรานนท์ อนุอินทร์ ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ณัฐพงษ์ ขจรมาลี หนองบัว พิชญ
25 ประเทศไทย ธีรัตม์ นาคชำนาญ ขอนแก่น ยูไนเต็ด 1
ประเทศไทย นนท์ ม่วงงาม เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ไพโรจน์ เอี่ยมมาก เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ปภาวิน สิริทองโสภา เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
ประเทศไทย ภูมินิวัฒน์ ทุหา เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
ประเทศไทย จิรัญญ์พงษ์ ธรรมสีหา พีที ประจวบ
ประเทศไทย ศรุฒ ณะศรี ชลบุรี (0) / พีที ประจวบ (1)

รางวัล

[แก้]

รางวัลประจำเดือน

[แก้]
เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน ประตูยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร
กันยายน ประเทศไทย สะสม พบประเสริฐ ชลบุรี ประเทศบราซิล อิบซง แมลู ขอนแก่น ยูไนเต็ด มาร์ตีนิก ซเตว็อง ล็องกี ราชบุรี มิตรผล [43]
ตุลาคม ประเทศบราซิล อาเลชังดรี กามา บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ซามูแวล รอซา บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล ฮามิลตง ซูวาริส หนองบัว พิชญ [44]
พฤศจิกายน ประเทศไทย ธชตวัน ศรีปาน ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ประเทศไทย วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ ชลบุรี ประเทศไทย นฤพล อารมณ์สวะ นครราชสีมา มาสด้า [45]
มกราคม ประเทศญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศเกาหลีใต้ ยู บย็อง-ซู ชลบุรี ประเทศไทย สหรัฐ ปองสุวรรณ พีที ประจวบ [46]
กุมภาพันธ์ ประเทศไทย อิสระ ศรีทะโร พีที ประจวบ ประเทศไทย ธีราทร บุญมาทัน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล วิลเลียม เอ็งรีกี สุพรรณบุรี [47]
มีนาคม ประเทศบราซิล ฮามิลตง ซูวาริส หนองบัว พิชญ ประเทศไทย สารัช อยู่เย็น บีจี ปทุม ยูไนเต็ด [48]
เมษายน ประเทศญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศสิงคโปร์ อิคซัน ฟันดี บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล เอเบร์ชี ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด [49]

รางวัลประจำฤดูกาล

[แก้]
รางวัล ผู้ชนะ สโมสร
หัวหน้าผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม ประเทศญี่ปุ่น มาซาตาดะ อิชิอิ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ผู้เล่นทรงคุณค่าแห่งปี ประเทศไทย ศุภชัย ใจเด็ด บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
นักเตะเยาวชนยอดเยี่ยมแห่งปี ประเทศไทย กฤษดา กาแมน ชลบุรี
11 ผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปี
กองหน้า ประเทศบราซิล เอเบร์ชี
(ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด)
ประเทศบราซิล ฮามิลตง ซูวาริส
(หนองบัว พิชญ)
ประเทศไทย ศุภชัย ใจเด็ด
(บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
กองกลาง ประเทศไทย เชาว์วัฒน์ วีระชาติ
(บีจี ปทุม ยูไนเต็ด)
ประเทศไทย วีระเทพ ป้อมพันธุ์
(เมืองทอง ยูไนเต็ด)
ประเทศไทย ปกรณ์ เปรมภักดิ์
(การท่าเรือ)
กองหลัง ประเทศไทย ธีราทร บุญมาทัน
(บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
ประเทศบราซิล อีเวร์ตง
(ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด)
ประเทศอิรัก รีบีน ซูลากอ
(บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
ประเทศไทย สันติภาพ จันทร์หง่อม
(บีจี ปทุม ยูไนเต็ด)
ผู้รักษาประตู ประเทศไทย กัมพล ปฐมอรรฆย์กุล
(ราชบุรี มิตรผล)

ผู้ชม

[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 161,226 23,046 2,635 10,748 +19.0%
2 เมืองทอง ยูไนเต็ด 43,213 5,875 0 3,324 −28.3%
3 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 31,251 4,927 0 3,125 −24.8%
4 ชลบุรี 38,382 4,200 0 2,952 −5.1%
5 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 43,675 4,875 1,021 2,912 +0.9%
6 นครราชสีมา มาสด้า 33,066 5,500 0 2,362 −48.6%
7 การท่าเรือ 28,063 10,888 0 2,339 −21.6%
8 หนองบัว พิชญ 28,003 5,098 416 1,867 +21.9%
9 ราชบุรี มิตรผล 26,629 2,454 1,215 1,775 −51.0%
10 สุพรรณบุรี 19,522 5,667 0 1,627 −58.6%
11 เชียงใหม่ ยูไนเต็ด 19,762 3,696 0 1,520 +155.9%
12 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 14,351 2,672 0 1,435 −40.6%
13 โปลิศ เทโร 15,464 2,423 0 1,289 −19.3%
14 ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 15,419 2,411 262 1,028 −65.0%
15 สมุทรปราการ ซิตี้ 11,689 2,137 0 835 −48.1%
16 พีที ประจวบ 8,516 1,050 0 608 −65.3%
รวม 538,231 23,046 0 2,539 −23.3%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2565
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
ทีมที่เล่นในไทยลีก 2 เมื่อฤดูกาลที่แล้ว

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

[แก้]
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 รวม
การท่าเรือ 0 0 0 1,234 936 1,313 10,888 1,207 1,053 1,681 1,825 1,862 1,629 1,560 2,875 28,063
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 1,021 1,109 1,625 1,234 1,548 1,618 3,248 3,125 3,245 3,144 4,864 4,512 4,495 4,875 4,012 43,675
ชลบุรี 0 0 1,425 2,030 1,980 2,974 4,120 3,520 3,204 3,151 4,200 3,055 3,201 2,973 2,549 38,382
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด 0 0 1,245 642 1,332 1,259 1,669 3,696 1,094 1,247 1,228 1,508 1,109 1,565 2,168 19,762
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 0 0 0 0 0 956 2,404 847 1,068 1,050 2,672 1,921 1,095 1,085 1,253 14,351
นครราชสีมา มาสด้า 0 539 899 941 1,840 2,876 2,944 2,075 2,085 2,765 2,253 5,500 1,865 3,377 3,107 33,066
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 0 0 0 0 0 1,678 1,823 2,349 3,321 3,032 3,220 4,314 3,186 3,401 4,927 31,251
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 5,933 5,028 5,201 2,635 6,420 12,007 6,065 7,359 16,398 8,273 20,659 10,021 10,102 22,079 23,046 161,226
โปลิศ เทโร 0 0 0 1,112 848 808 779 2,375 1,225 1,306 2,423 1,273 1,072 1,026 1,217 15,464
พีที ประจวบ 0 750 513 400 426 512 763 578 445 481 667 498 720 713 1,050 8,516
เมืองทอง ยูไนเต็ด 0 0 1,092 1,745 1,845 2,145 2,148 2,414 5,237 5,875 4,985 3,328 2,937 5,635 3,827 43,213
ราชบุรี มิตรผล 1,270 1,659 1,985 1,215 1,224 1,632 2,196 1,986 1,746 1,632 1,481 1,477 2,454 2,347 2,325 26,629
ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด 262 388 429 358 1,038 526 702 1,020 2,411 1,309 1,462 2,284 1,200 631 1,399 15,419
สมุทรปราการ ซิตี้ 0 266 648 450 963 451 590 486 2,137 604 673 817 854 789 1,961 11,689
สุพรรณบุรี 0 0 0 925 1,106 616 653 1,101 1,318 2,179 1,419 1,831 1,430 1,277 5,667 19,522
หนองบัว พิชญ 418 463 462 849 416 731 1,009 1,772 1,854 2,124 3,793 3,993 2,924 5,098 2,097 28,003

แหล่งที่มา: ไทยลีก

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "ไทยลีก แถลงขยับปฏิทินการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ฤดูกาล 2564/65". Thaileague.co.th. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-27. สืบค้นเมื่อ 26 July 2021.
  2. แบงค็อก-เมืองทองส่อชวดชปล.! ไทยลีกแย้มผลโหวต รอประกาศทางการ
  3. สมาคมฯ - ไทยลีก แถลงข่าวเปิดตัวการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ 2564/65 ภายใต้คอนเซปต์ “New Era”
  4. ""ไทยลีก" แจ้งปฏิทินฟุตบอลไทย ฤดูกาล 2564/2565". smmsport. 19 May 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-09. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  5. "ไทยลีก ประกาศเลื่อนโปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก 1-2". thaileague. 7 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-09. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  6. 6.0 6.1 "ไทยลีก แจ้งปฏิทินการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ ฤดูกาล 2021/22". Thaileague.co.th. 14 July 2021. สืบค้นเมื่อ 14 July 2021.
  7. "FIFA แจ้งหยุด Transfer Window ให้เป็นกรณีพิเศษ เพื่ออำนวยความสะดวกให้สโมสรในการเลื่อนลีก". Thaileague.co.th. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-26. สืบค้นเมื่อ 26 July 2021.
  8. "ไทยลีก ยืนยันวันเปิดฤดูกาล 2564/65 และปรับสนามแข่ง ไทยลีก 1-2 เดือนกันยายน ตามมาตรการคุมโควิด-19". August 17, 2021. สืบค้นเมื่อ August 18, 2021.
  9. "คอบอลไทยเฮลั่น!แฟนบอลฉีดวัคซีนเข้าสนาม จ.บุรีรัมย์ ได้25%". August 20, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  10. คลายล็อกดาวน์! ชลบุรี กลับเตะรังเหย้า ชลบุรี สเตเดี้ยม
  11. เฮอีกทีม!ไทยลีกไฟเขียว บีจี ปทุมฯ ใช้ ลีโอ สเตเดียม ดวล ราชบุรี
  12. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2564/65" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-09-18. สืบค้นเมื่อ 2021-09-18.
  13. "เชียงใหม่ ยูฯ เล็งใช้สนามสมโภช700ปีสังเวียนเหย้าไทยลีก". siamsport.co.th. 1 April 2021. สืบค้นเมื่อ 14 July 2021.
  14. "Official! "บจก.ไทยลีก" ไฟเขียว "กว่าง" ใช้ชื่อใหม่เป็น "ลีโอ เชียงราย ยูไนเต็ด"". ballthai.com. 16 October 2021. สืบค้นเมื่อ 16 October 2021.
  15. "ปีใหม่ชื่อใหม่! บีจี เปลี่ยนชื่อรังเหย้าเป็น บีจี สเตเดียม (มีคลิป)". goal.com. 24 December 2021. สืบค้นเมื่อ 25 December 2021.
  16. "พีที ประจวบ เอฟซี คว้าตัว "มาซามิ ทากิ" คุมทัพลุยศึกไทยลีกฤดูกาลหน้า". PT Prachuap FC. 30 May 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  17. "สโมสรหนองบัว พิชญ เอฟซี ยินดีต้อนรับ ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล (โค้ชวัง) เข้ามารับตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอนในฤดูกาล 2021-2022". หนองบัว พิชญ เอฟซี. 4 May 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  18. "เดอะ แรบบิท เปิดตัว ออเรลิโอ วิดมาร์ คุมทัพลุย ACL". bgputd.com. 30 May 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  19. "OFFICIAL : เชียงใหม่ ยูไนเต็ด เปิดตัว สุรพงษ์ คงเทพ คุมทัพลุยศึกไทยลีก 1". Chiangmai United. 15 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  20. "OFFICIAL "จงอางผยอง" ขอนแก่น ยูไนเต็ด ประกาศแต่งตั้ง "โค้ชคาร์ลอส" คาร์ลอส เอดูอาร์โด ปาร์เรรา นั่งแท่นตำแหน่งเฮดโค้ช ของทีมลุยไทยลีก 1". KHON KAEN UNITED. 10 May 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2021.
  21. "'มาดามแป้ง' ตั้ง 'ดุสิต' นั่งแท่นกุนซือสิงห์เจ้าท่า ลุยศึกไทยลีก 2021/22". การท่าเรือ เอฟซี Port FC. 20 July 2021. สืบค้นเมื่อ 20 July 2021.
  22. "OFFICIAL "เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประกาศแต่งตั้ง "ไอล์ตัน ซิลวา" หัวหน้าผู้ฝึกสอน - ดัน "โค้ชจั๊บ" รักษาการฯ ชั่วคราว". Chiangmai United. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 11 October 2021.
  23. "ช็อคเป็นแถว!! โค้ชโอ่ง ประกาศลาออก ท่าเรือ หลังผลงานไม่เป็นตามเป้า". ballthai.com. 11 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 November 2021.
  24. https://www.thairath.co.th/sport/thaifootball/thaipremierleague/2239788 ไทยรัฐ: "โค้ชโอ่ง" ประกาศลาออกกุนซือ การท่าเรือ "มาดามแป้ง" ส่ง "โค้ชอู๊ด" แทนตำแหน่ง
  25. "บีจี ปทุม ประกาศแยกทางโค้ช ออเรลิโอ วิดมาร์". pptvhd36.com. 15 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 November 2021.
  26. "บีจี ปทุมฯ แต่งตั้ง "โค้ชโอ่ง" คืนถิ่นในตำแหน่ง ผจก.ทีม". smmsport.com. 14 November 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-16. สืบค้นเมื่อ 16 November 2021.
  27. "ไม่รอด! PT ประจวบ ปลดทากิตั้ง "อิสสระ" มือขวานิชิโนะ". goal.com. 15 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 November 2021.
  28. "ต่อต้องรอด! "อิสระ" มือขวาลุงโนะเปิดตัวคุม PT ประจวบ". goal.com. 15 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 November 2021.
  29. "ทางการ! สมุทรปราการประกาศแยกทางกุนซือ "อิชิอิ"". siamsport.co.th. 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 December 2021.
  30. "สานต่อโค้ชซามูไร! "เขี้ยวสมุทร" แต่งตั้ง "ยาสุชิ โยชิดะ" คุมทีมอย่างเป็นทางการ". ballthai.com. 11 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 December 2021.
  31. "กาม่ายืนยันแยกทางบุรีรัมย์แล้ว-เผยความรู้สึกทิ้งท้ายก่อนออกจากทีม". siamsport.co.th. 28 November 2021. สืบค้นเมื่อ 11 December 2021.
  32. "OFFICIAL! มาซาทาดะ อิชิอิ ประชุมร่วมกับประธานสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เพื่อเตรียมทีมลุยศึกเลกสอง". buriramunited.com. 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 December 2021.
  33. "บ๊ายบายโค้ชโอ่ง! บีจีตั้ง "โค้ชง้วน" รักษาการจนจบฤดูกาล". siamsport.co.th. 17 January 2022. สืบค้นเมื่อ 17 January 2022.
  34. ""โค้ชเจี๊ยบ" ประกาศลาเก้าอี้ "กุนซือ" ราชันมังกร" รับผิดชอบผลงาน". smmsport.co.th. 26 January 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-27. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  35. "OFFICIAL : บีจี ตั้ง มาโกโตะ เทกุระโมริ อดีตโค้ชทีมชาติญี่ปุ่น". goal.com. 27 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  36. "OFFICIAL : เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ประกาศแต่งตั้ง สุรชัย จิระศิริโชติ รับหน้าที่รักษาการหัวหน้าผู้ฝึกสอน". Chiangmai United. 4 February 2022. สืบค้นเมื่อ 5 February 2022.
  37. "โค้ชอู๊ด"​ ไขก๊อกลากุนซือการท่าเรือฯรับผิดชอบผลงาน
  38. "การท่าเรือ เอฟซี แต่งตั้ง จเด็จ มีลาภ กลับมาคุมทัพเพื่อความต่อเนื่องก่อนถึง ACL". การท่าเรือ เอฟซี Port FC. 5 March 2022. สืบค้นเมื่อ 5 March 2022.
  39. นครราชสีมาฯเปิดตัว"เควิน แบล็คเวลล์"คุมทัพกู้วิกฤตทีม
  40. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2564/65" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. สืบค้นเมื่อ 18 September 2021.
  41. "ดาวซัลโวไทยลีก 2021". goal.com.
  42. "สรุปอันดับจอมแอสซิสต์ไทยลีก". goal.com.
  43. "รางวัลยอดเยี่ยม รีโว่ ไทยลีก และ M-150 แชมเปี้ยนชิพ ประจำเดือนกันยายน". Thai League. 19 October 2021. สืบค้นเมื่อ 23 October 2021.
  44. "ไทยลีก ประกาศรางวัลยอดเยี่ยมประจำเดือนตุลาคม 2564 ของไทยลีก 1 และ ไทยลีก 2". Thai League. 18 November 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-18. สืบค้นเมื่อ 18 November 2021.
  45. "ไทยลีก ประกาศรางวัลยอดเยี่ยมประจำเดือนพฤศจิกายน 2564 ของไทยลีก 1 และ ไทยลีก 2". Thai League. 14 January 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-14. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
  46. "รางวัลยอดเยี่ยม รีโว่ ไทยลีก และ M-150 แชมเปี้ยนชิพ ประจำเดือนมกราคม 2022". Thai League. 17 February 2022. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
  47. "ไทยลีก ประกาศรางวัลยอดเยี่ยมประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ของไทยลีก 1 และ ไทยลีก 2". Thai League. 17 March 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  48. "แฮมิลตันควง 'โค้ชหระ' ผงาดยอดเยี่ยม, ไทยลีกประกาศรางวัลประจำเดือนมีนาคม 2565". Thai League. 7 April 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-01. สืบค้นเมื่อ 8 April 2022.
  49. "อิคซานควงมาโกโตะ ผงาดยอดเยี่ยมเมษายน , เฮเบอร์ตี้ ซิวลูกยิงสุดสวยพร้อมทุบสถิติ". Thai League. 5 May 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-05. สืบค้นเมื่อ 5 May 2022.