ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2559

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีกดิวิชั่น 1
ฤดูกาล2559
ทีมชนะเลิศไทยฮอนด้า ลาดกระบัง
เลื่อนชั้นไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด
การท่าเรือ
จำนวนนัด192
จำนวนประตู541 (2.82 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฮริสติยาน คีรอฟสกี
(17 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
การท่าเรือ 6–1 นครปฐม ยูไนเต็ด
(3 เมษายน 2559)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
สมุทรสงคราม อาร์-แอร์ไลน์ส 0–3 การท่าเรือ
(30 มีนาคม 2559)
ลำปาง เอฟซี 0–3 การท่าเรือ
(21 พฤษภาคม 2559)
จำนวนประตูสูงสุดการท่าเรือ 6–2 สมุทรสงคราม อาร์-เเอร์ไลน์ส
(20 สิงหาคม 2559)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
14 นัด
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
เชียงใหม่ เอฟซี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
กระบี่ เอฟซี
จำนวนผู้ชมสูงสุด6,880 คน
เชียงใหม่ เอฟซี 1–3 พีทีที ระยอง
(16 มีนาคม 2559)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด29 คน
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี 5–1 สมุทรสงคราม อาร์-แอร์ไลน์ส
(3 กรกฎาคม 2559)
จำนวนผู้ชมรวม413,380 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย2,234 คน
2558
2560

ไทยลีกดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2559 หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า "ยามาฮ่า ลีก 1 2016" เป็นการแข่งขันฟุตบอลอาชีพของประเทศไทย โดยเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 19 ของลีกนับตั้งแต่การก่อตั้งในปี พ.ศ. 2540 โดยเป็นลีกระดับที่สองรองจากไทยพรีเมียร์ลีก ในฤดูกาลนี้มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 16 ทีม โดยหา 3 ทีมเลื่อนชั้นขึ้นไทยพรีเมียร์ลีก และทีมอันดับสุดท้าย 1 ทีม ตกชั้นลงไปเล่นไทยลีกแชมเปียนชิป โดยเดิมจะเริ่มเปิดฤดูกาลทำการแข่งขันพร้อมกันในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 แต่ทาง พล.ต.อ. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ประกาศเลื่อนการแข่งขันนัดเปิดฤดูกาลของไทยลีกดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2559 ไปเป็นวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2559[1] และถือเป็นครั้งแรกที่แข่งไม่จบฤดูกาล หลังสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีมติให้ยุติการแข่งขันฟุตบอลทุกรายการภายในประเทศเพื่อถวายความไว้อาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559

สโมสร[แก้]

สนามเหย้าและสถานที่ตั้ง[แก้]

สโมสรฟุตบอลในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ
กระบี่ เอฟซี กระบี่ สนามกีฬากลางจังหวัดกระบี่ 6,000
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร แพตสเตเดียม 12,308
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 8,000
เชียงใหม่ เอฟซี เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 15,000
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 2,141
บางกอก เอฟซี กรุงเทพมหานคร สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด 8,000
ประจวบ เอฟซี ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าว สเตเดียม 7,000
พีทีที ระยอง ระยอง พีทีที สเตเดียม 20,000
ระยอง เอฟซี ระยอง ระยอง สเตเดียม 7,500
ลำปาง เอฟซี ลำปาง สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง 5,500
สงขลา ยูไนเต็ด สงขลา สนามกีฬากลางอำเภอนาทวี 2,000
สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส สมุทรสงคราม สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม 1,000
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด อุบลราชธานี สนามกีฬาทุ่งบูรพา 3,000
อ่างทอง เอฟซี อ่างทอง สนามกีฬาจังหวัดอ่างทอง 6,500
แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล ปทุมธานี สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์) 25,000

ข้อมูลทีมและผู้สนับสนุน[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

ทีม หัวหน้าผู้ฝึกสอน (โค้ช) กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน(คาดหน้าอก)
กระบี่ เอฟซี ไทย วิรัช แคยิหวา ไทย ทวีพงค์ เจริญรูป เอฟบีที บางกอก แอร์เวย์
การท่าเรือ ญี่ปุ่น วะดะ, มะซะฮิโระมะซะฮิโระ วะดะ สเปน โรเชลา, ดาบิดดาบิด โรเชลา แกรนด์ สปอร์ต เมืองไทย
ขอนแก่น ยูไนเต็ด สหราชอาณาจักร เดวิด บูธ ไทย ชัยคำดี, ศรายุทธศรายุทธ ชัยคำดี ผลิตโดยสโมสร ช้าง
เชียงใหม่ เอฟซี ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ โกตดิวัวร์ เฮนรี โจเอล ผลิตโดยสโมสร ลีโอ เบียร์
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง ไทย ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย ญี่ปุ่น ฮิกูชิ, ไดกิไดกิ ฮิกูชิ คัปปา ฮอนด้า
นครปฐม ยูไนเต็ด ไทย ดำรงอ่องตระกูล, ธวัชชัยธวัชชัย ดำรงอ่องตระกูล ไทย มณีสุข, วุฒิศักดิ์วุฒิศักดิ์ มณีสุข ผลิตโดยสโมสร ช้าง
บางกอก เอฟซี ไทย สุธี สุขสมกิจ ญี่ปุ่น ฮะชิโมะโตะ, ซุกุรุซุกุรุ ฮะชิโมะโตะ เกลา M2F
ประจวบ เอฟซี ไทย ดุสิต เฉลิมแสน ไทย สุทธิสา, รังสฤทธิ์รังสฤทธิ์ สุทธิสา ตามูโด้ สหวิริยา กรุ๊ป/พีที
พีทีที ระยอง ไทย จเด็จ มีลาภ ไทย เขียวสมบัติ, กีรติกีรติ เขียวสมบัติ Sakka Sport พีทีที กรุ๊ป
ระยอง เอฟซี ไทย ชูศักดิ์ ศรีภูมิ ไทย ปิยะวัฒน์ ทองแม้น วาร์ริกซ์ กัลฟ์
ลำปาง เอฟซี ไทย อภิรักษ์ ศรีอรุณ ไทย นนทพันธ์ เจียรสถาวงศ์ เดฟโฟ ส.สมมี
สงขลา ยูไนเต็ด ไทย สมชาย มากมูล ไทย ไชยรัตน์ หมัดศิริ เอฟบีที ไอ-โมบาย
สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส ไทย วิมล จันทร์คำ ไทย อภิศักดิ์ คงอ่อน วาร์ริกซ์ อาร์ แอร์ไลน์ส
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด อังกฤษ สก็อตต์ คูเปอร์ บราซิล วิกตูร์ การ์ดูซู ผลิตโดยสโมสร อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด
อ่างทอง เอฟซี เยอรมนี ไรเนอร์ เมาเรอร์ ไทย โพธิ์เรือนดี, พีรทรรศน์พีรทรรศน์ โพธิ์เรือนดี อีโก้ สปอร์ตส์ ซีพี
แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล ไทย สะสม พบประเสริฐ โครเอเชีย อเล็กซานดาร์ คาปิโซดา เกลา เซ็นทรัล

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ
สโมสร
แข่ง
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ผลต่าง
คะแนน
ได้รับคัดเลือก หรือ ตกชั้น
เฮด-ทู-เฮด
1 ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี (C) (P) 26 14 10 2 46 23 +23 52 เลื่อนชั้นไปสู่ ไทยพรีเมียร์ลีก 2560
2 อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด (P) 26 14 7 5 38 23 +15 49
3 การท่าเรือ (P) 26 13 8 5 55 30 +25 47
4 แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล 26 11 9 6 44 29 +15 42
5 อ่างทอง เอฟซี 26 11 8 7 38 30 +8 41
6 สงขลา ยูไนเต็ด 26 10 9 7 35 33 +2 39
7 ประจวบ เอฟซี 26 9 8 9 36 36 0 35
8 พีทีที ระยอง 26 10 5 11 42 43 −1 35
9 เชียงใหม่ เอฟซี 26 8 8 10 36 34 +2 32
10 กระบี่ เอฟซี 26 7 8 11 27 26 +1 29
11 ลำปาง เอฟซี 27 6 10 11 39 51 −12 28
12 นครปฐม ยูไนเต็ด 26 6 10 10 29 42 −13 28
13 ระยอง เอฟซี 26 4 12 10 24 39 −15 24
14 บางกอก เอฟซี 26 4 11 11 26 41 −15 23
15 สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 27 4 7 16 26 61 −35 19
16 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 0 0 0 0 0 0 0 0

อัปเดตล่าสุด 14 ตุลาคม 2559
แหล่งข้อมูล: ยามาฮ่า ลีก ดิวิชัน 1
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า \ เยือน1 AFA ANG BAN CHI KKU KRA LAM NKP POR PUA PTT RAY SAS SKU THL UBO
แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล 1–0 5–0 0–0 4–1 1–1 2–3 3–2 3–1 4–1 3–2 2–1 1–1 0–1
อ่างทอง 1–1 1–1 1–0 3–1 1–0 2–0 2–2 1–3 4–2 3–0 1–0 1–0
บางกอก 0–0 0–2 0–1 1–0 2–0 1–1 2–2 0–2 3–1 0–0 2–2 0–0 1–3 0–0
เชียงใหม่ 3–3 2–0 2–1 1–2 1–1 1–0 5–1 0–0 1–3 4–0 1–3 1–1 4–2
ขอนแก่น ยูไนเต็ด
กระบี่ 0–2 0–0 3–0 0–1 1–0 1–2 0–0 4–1 1–0 5–1 1–2 2–1 0–1
ลำปาง 1–1 3–2 2–2 3–2 1–1 4–1 0–3 2–0 3–1 2–0 1–1 1–1 2–2
นครปฐม ยูไนเต็ด 1–1 1–1 1–1 1–1 2–1 2–1 2–1 1–2 2–0 2–0 1–1 1–2
การท่าเรือ 2–0 3–1 1–1 3–1 3–0 6–1 1–2 3–0 2–2 6–2 2–0 0–0 3–1
ประจวบ 1–0 2–4 1–3 1–0 1–1 3–1 1–0 1–1 1–3 3–0 3–0 2–2 2–5
พีทีที ระยอง 1–2 1–1 3–2 2–1 1–1 2–2 4–1 2–1 2–2 2–0 0–1 1–2 0–2
ระยอง 1–0 2–1 0–0 2–1 0–0 2–2 2–2 1–1 2–0 1–1 1–2 0–1 0–0
สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ 0–2 1–2 1–1 1–0 3–1 1–1 0–3 2–1 0–0 2–2 1–0 1–2 1–2
สงขลา ยูไนเต็ด 0–0 2–2 3–2 2–1 1–1 4–2 5–1 1–1 0–4 1–1 3–1 0–3 1–0
ไทยฮอนด้า 3–3 0–1 1–0 1–0 1–0 4–2 1–1 2–1 0–0 3–2 3–0 5–1 0–0 1–1
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 2–1 1–0 4–1 2–0 2–1 2–2 1–0 0–0 1–2 2–0 4–1 2–0 1–1
อัปเดตล่าสุดวันที่ 24 กันยายน 2559
แหล่งข้อมูล: ยามาฮ่า ลีก ดิวิชัน 1
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติตลอดฤดูกาล[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ณ วันที่ 24 กันยายน 2559.
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 มาซิโดเนียเหนือ ฮริสติยาน คีรอฟสกี ประจวบ เอฟซี 17
2 โกตดิวัวร์ มาร์ค แลนดรี บาโบ อ่างทอง เอฟซี 13
บราซิล วิลเลน สงขลา ยูไนเต็ด
บราซิล รีการ์ดู เฌซุส ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง
6 บราซิล วัลดู แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล 12
ไทย ศิริศักดิ์ มัสบูงอ ลำปาง เอฟซี
8 ตรินิแดดและโตเบโก ดาร์รีล โรเบิร์ตส์ อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 10
บราซิล รูดรีกู มารันฮาอู การท่าเรือ เอฟซี
บราซิล เลอังดรู พีทีที ระยอง (5 ประตู)
แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล (5 ประตู)
ไทย อภิวัฒน์ เพ็งประโคน เชียงใหม่ เอฟซี
บราซิล วิคตูร์ การ์ดูซู อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด
ญี่ปุ่น ยูเซอิ โอกาซาวาระ นครปฐม ยูไนเต็ด

แฮท-ทริคส์[แก้]

ผู้เล่น สโมสร พบกับทีม ผล วันที่
บราซิล ทาร์เดลี กระบี่ เอฟซี บางกอก เอฟซี 3–0 9 มีนาคม 2559
กานา ไอแซค ฮอนนี อ่างทอง เอฟซี ขอนแก่น ยูไนเต็ด 4–1 16 มีนาคม 2559
มาซิโดเนียเหนือ ฮริสติยาน คีรอฟสกี ประจวบ เอฟซี ลำปาง เอฟซี 3–1 30 มีนาคม 2559
บราซิล รูดรีกู มารันฮาอู การท่าเรือ เอฟซี สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 3–0 30 มีนาคม 2559
มาซิโดเนียเหนือ ฮริสติยาน คีรอฟสกี ประจวบ เอฟซี สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 3–0 22 มิถุนายน 2559
บราซิล ริการ์ดู เฌซุส ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 5–1 3 กรกฎาคม 2559
ไทย ยอด จันทวงศ์ สงขลา ยูไนเต็ด เชียงใหม่ เอฟซี 3–1 3 กรกฎาคม 2559
สเปน รูโฟ ซานเชซ สงขลา ยูไนเต็ด สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 3–1 17 กรกฎาคม 2559
ไทย จงรักษ์ ภักดี กระบี่ เอฟซี สมุทรสงคราม อาร์แอร์ไลน์ส 5–1 17 กันยายน 2559
  • 4 ผู้เล่นที่ทำคนเดียว 4 ประตู

สถิติผู้ชม[แก้]

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 53,790 5,895 3,795 4,890 n/a
2 เชียงใหม่ 60,024 6,880 3,167 4,287 +101.4%
3 การท่าเรือ 42,609 4,258 360 3,043 −24.8%
4 แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล 35,694 5,015 1,592 2,549 +4.2%
5 อ่างทอง 29,488 5,616 824 2,268 +25.7%
6 อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 26,559 3,128 850 1,897 n/a
7 บางกอก 27,911 2,980 939 1,860 −32.7%
8 พีทีที ระยอง 24,421 3,436 904 1,744 −12.0%
9 สงขลา ยูไนเต็ด 20,396 2,714 1,052 1,456 −12.9%
10 ลำปาง 19,534 2,413 710 1,395 n/a
11 ระยอง 16,474 2,228 600 1,176 n/a
12 ประจวบ 14,409 2,571 722 1,108 +4.5%
13 นครปฐม ยูไนเต็ด 12,314 1,454 506 947 −44.7%
14 กระบี่ 13,481 1,394 471 898 −10.7%
15 สมุทรสงคราม 10,387 1,292 352 741 −25.8%
16 ไทยฮอนด้า 8,637 2,116 29 616 −52.8%
รวม 421,049 6,880 29 2,192 +26.0%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2559
แหล่งข้อมูล: ดิวิชัน 1
หมายเหตุ:'
ทีมที่ลงเล่นฤดูกาลที่แล้วใน ดิวิชัน 2

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]