สโมสรฟุตบอลนครราชสีมา มาสด้า เป็นสโมสรฟุตบอล อาชีพในประเทศไทย โดยเป็นทีมจากจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันเล่นอยู่ในไทยลีก ฤดูกาล 2562 ได้ใช้สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ที่มีความจุ 25,000 คน
ประวัติสโมสร [ แก้ ]
สมัยก่อนทีมฟุตบอลโคราชที่แข่งโปรลีกฯ มี ฉายาว่า "สตริงเรย์" เหตุเพราะสมัยก่อน กองบิน 1 มีรถถังคอมมานโด สติงเรย์ หรือเรียกอีกชื่อในวงการทหารว่า "เจ้ากระเบนธงจู่โจม" จำนวนมาก และกองทัพบก นำเข้าประจำการมา 106 คัน และ ทีมงานที่ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลสมัยนั้น โดยส่วนใหญ่เป็นทหารอยู่ในกองทัพ จึงได้เลือกใช้ชื่อว่า "นครราชสีมาสตริงเรย์" ต่อมาได้เปลี่ยนโลโก้และฉายาใหม่ ชื่อว่า "สวาทแคท" หรือ "เจ้าแมวพิฆาต" ซึ่งแต่เดิมนั้นโลโก้นครราชสีมาเป็นรูปรถถัง และได้เปลี่ยนเป็นรูปแมวสีสวาดซึ่งเป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นโคราช มาจนถึงปัจจุบัน
ประวัติตราสโมสรนครราชสีมา
ผู้เล่น [ แก้ ]
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน [ แก้ ]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว [ แก้ ]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
ผู้บริหาร [ แก้ ]
ตำแหน่ง
ชื่อ
สัญชาติ
ประธานกิตติมศักดิ์สโมสร
สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
ผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์
ม.ล.โอรัส เทวกุล
ประธานสโมสร
เทวัญ ลิปตพัลลภ
รองประธานสโมสร
สิทธิภัท ธนะโสภณ
ผู้อำนวยการสโมสร
อุทัย มิ่งขวัญ
ผู้จัดการทีม
ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น
ผู้ช่วยผู้จัดการทีม
กิตติพงษ์ ชะนะภักดิ์
ทีมงานผู้ฝึกสอน [ แก้ ]
ตำแหน่ง
ชื่อ
สัญชาติ
หัวหน้าผู้ฝึกสอน
วัชรกร อันทะคำภู
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
ไกรเกียรติ คูณธนทรัพย์
ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตู
วัชรพงษ์ กล้าหาญ
หมอนวด
กมลทัศน์ กลางนอก
นักกายภาพบำบัด
สุริยา จักวาโชติ
เจ้าหน้าที่ทีม
สุเชษฐ สธนเสาวภาคย์
เจ้าหน้าที่ทีม
นายบุญศักดิ์ เกษเกษร
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ [ แก้ ]
อดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอน [ แก้ ]
ผลงานตามฤดูกาลแข่งขัน [ แก้ ]
ชนะเลิศ
รองชนะเลิศ
อันดับที่สาม
เลื่อนชั้น
ตกชั้น
ทัวร์นาเมนท์ [ แก้ ]
2559/2016 ช้าง ชลบุรี อินวิเตชั่น 2016 (รองแชมป์)
2560/2017 อีสาน ดาร์บี้ คัพ 2017 (แชมป์)
2561/2018 ลีโอ คัพ (รองแชมป์)
2562/2019 ลีโอ คัพ (อันดับ4)
ผลงานที่ดีที่สุด [ แก้ ]
ไทยลีก - อันดับที่ 7 ฤดูกาล 2561
เอฟเอคัพ - รอบก่อนรองชนะเลิศ ฤดูกาล 2552, 2562
ลีกคัพ - รอบรองชนะเลิศ ฤดูกาล 2556, 2557, 2561
สโมสรพันธมิตร [ แก้ ]
ชุดแข่งขัน [ แก้ ]
อ้างอิง [ แก้ ]
↑ King, Ian; Schöggl, Hans & Stokkermans, Karel (20 March 2014). "Thailand – List of Champions" . RSSSF. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014 . Select link to season required from chronological list.
แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้ ]
ทีมชาติไทย
ระบบลีก
ชาย หญิง ฟุตซอลชาย ฟุตซอลหญิง
ถ้วยในประเทศ
ทีมสำรองและ ทีมสถาบันการศึกษา
ถ้วยระดับทวีป แข่งกระชับมิตร รายชื่อ