ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wasbone (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Xpanderz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
}}
}}


'''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290''' หรือ '''ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา''' เป็น[[ทางหลวงแผ่นดิน]]เส้นหนึ่งที่มีลักษณะเป็นวงแหวนวนรอบ[[เทศบาลนครนครราชสีมา|ตัวเมืองนครราชสีมา]] เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาจราจรในเขตตัวเมือง แนวถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมาที่ศึกษาเป็นแนวตัดใหม่ทั้งหมด ระยะทางรวมประมาณ 110 กิโลเมตร ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา เป็น 7 ช่วง ได้แก่ A, B, C, D, E, F และ G แต่ก่อสร้างแล้วเสร็จเฉพาะช่วง G เท่านั้น
'''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290''' หรือ '''ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา''' เป็น[[ทางหลวงแผ่นดิน]]เส้นหนึ่งที่มีลักษณะเป็นวงแหวนวนรอบ[[เทศบาลนครนครราชสีมา|ตัวเมืองนครราชสีมา]] เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาจราจรในเขตตัวเมือง แนวถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมาที่ศึกษาเป็นแนวตัดใหม่ทั้งหมด ระยะทางรวมประมาณ 110 กิโลเมตร ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา เป็น 7 ช่วง ได้แก่ A, B, C, D, E, F และ G แต่ก่อสร้างแล้วเสร็จเฉพาะช่วง F, A และ G เท่านั้น


== รายละเอียดของเส้นทาง ==
== รายละเอียดของเส้นทาง ==
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
*'''ช่วง G''' เส้นทางเริ่มจาก[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2]] ([[ถนนมิตรภาพ]]) ที่หลักกิโลเมตรที่ 126 บริเวณตำบลนากลาง [[อำเภอสูงเนิน]] ไปบรรจบ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304]] ([[ถนนราชสีมา-กบินทร์บุรี]]) บริเวณตำบลไชยมงคล [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]] ระยะทางประมาณ 17.941 กิโลเมตร <ref>[http://www.koratdaily.com/21/95.html วงแหวนโคราช พร้อมใช้ ทางหลวงเล็งเวนคืน เร่งสร้างทางต่างระดับรองรับ]</ref> ปัจจุบัน กำลังขยายเป็น 4 เลน กำหนดแล้วเสร็จ 16 มกราคม 2562
*'''ช่วง G''' เส้นทางเริ่มจาก[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2]] ([[ถนนมิตรภาพ]]) ที่หลักกิโลเมตรที่ 126 บริเวณตำบลนากลาง [[อำเภอสูงเนิน]] ไปบรรจบ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304]] ([[ถนนราชสีมา-กบินทร์บุรี]]) บริเวณตำบลไชยมงคล [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]] ระยะทางประมาณ 17.941 กิโลเมตร <ref>[http://www.koratdaily.com/21/95.html วงแหวนโคราช พร้อมใช้ ทางหลวงเล็งเวนคืน เร่งสร้างทางต่างระดับรองรับ]</ref> ปัจจุบัน กำลังขยายเป็น 4 เลน กำหนดแล้วเสร็จ 16 มกราคม 2562


=== ช่วงที่จะเริ่มดำเนินการก่อสร้าง ===
*'''ช่วง A''' เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 2 บริเวณตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน ไปบรรจบ[[ทางหลวงในประเทศไทย|ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2068]] (โคกกรวด-โนนไทย) บริเวณตำบลบึงอ้อ อำเภอขามทะเลสอ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร<ref>[http://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=70687:-4--&catid=129:2009-02-08-11-47-38&Itemid=479 เล็งตัดถนน 4 เลน - เลี่ยงเมือง]</ref>ปัจจุบัน ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/053/36.PDF พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๙๐ สายถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา ตอนบ้านห้วยตะคร้อ – บ้านบึงขามทะเลสอ พ.ศ. ๒๕๕๙]</ref> กำหนดแล้วเสร็จ 16 กุมภาพันธ์ 2563
*'''ช่วง A''' เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 2 บริเวณตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน ไปบรรจบ[[ทางหลวงในประเทศไทย|ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2068]] (โคกกรวด-โนนไทย) บริเวณตำบลบึงอ้อ อำเภอขามทะเลสอ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร<ref>[http://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=70687:-4--&catid=129:2009-02-08-11-47-38&Itemid=479 เล็งตัดถนน 4 เลน - เลี่ยงเมือง]</ref>ปัจจุบัน ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/053/36.PDF พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๙๐ สายถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา ตอนบ้านห้วยตะคร้อ – บ้านบึงขามทะเลสอ พ.ศ. ๒๕๕๙]</ref> กำหนดแล้วเสร็จ 16 กุมภาพันธ์ 2563


*'''ช่วง F''' เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 224 บริเวณตำบลหนองบัวศาลา อำเภอเมืองนครราชสีมา ผ่าน[[สวนสัตว์นครราชสีมา]] ไปบรรจบทางหลวงหมายเลข 304 บริเวณตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ขณะนี้ได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/044/10.PDF พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๙๐ สายถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา ตอนบ้านหนองไทร – บ้านหนองบัวศาลา พ.ศ. ๒๕๕๙]</ref> และได้เซ็นสัญญาจ้างผู้รับเหมาเรียบร้อยแล้ว<ref>[http://www.banmuang.co.th/news/economy/50846 ทล.ลงเข็มวงแหวนโคราช]</ref>
*'''ช่วง F''' เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 224 บริเวณตำบลหนองบัวศาลา อำเภอเมืองนครราชสีมา ผ่าน[[สวนสัตว์นครราชสีมา]] ไปบรรจบทางหลวงหมายเลข 304 บริเวณตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ขณะนี้ได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/044/10.PDF พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๙๐ สายถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา ตอนบ้านหนองไทร – บ้านหนองบัวศาลา พ.ศ. ๒๕๕๙]</ref> และได้เซ็นสัญญาจ้างผู้รับเหมาเรียบร้อยแล้ว<ref>[http://www.banmuang.co.th/news/economy/50846 ทล.ลงเข็มวงแหวนโคราช]</ref>
=== ช่วงที่จะเริ่มดำเนินการก่อสร้าง ===


=== ช่วงที่ยังไม่ได้เริ่มก่อสร้าง ===
=== ช่วงที่ยังไม่ได้เริ่มก่อสร้าง ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:52, 6 กุมภาพันธ์ 2562

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290
ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา
Ringroad290s.jpg
ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมาด้านทิศใต้ ส่วน G
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว17.941 กิโลเมตร (11.148 ไมล์)
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศตะวันตก ถนนมิตรภาพ ใน อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา
ปลายทางทิศตะวันออก ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ใน อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290 หรือ ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินเส้นหนึ่งที่มีลักษณะเป็นวงแหวนวนรอบตัวเมืองนครราชสีมา เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาจราจรในเขตตัวเมือง แนวถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมาที่ศึกษาเป็นแนวตัดใหม่ทั้งหมด ระยะทางรวมประมาณ 110 กิโลเมตร ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา เป็น 7 ช่วง ได้แก่ A, B, C, D, E, F และ G แต่ก่อสร้างแล้วเสร็จเฉพาะช่วง F, A และ G เท่านั้น

รายละเอียดของเส้นทาง

ไฟล์:วงแหวนนครราชสีมา.jpeg
ช่วงสถานะ วงแหวนนครราชสีมา

ช่วงที่ก่อสร้างเสร็จสิ้นแล้ว

  • ช่วง A เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 2 บริเวณตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน ไปบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2068 (โคกกรวด-โนนไทย) บริเวณตำบลบึงอ้อ อำเภอขามทะเลสอ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร[2]ปัจจุบัน ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559[3] กำหนดแล้วเสร็จ 16 กุมภาพันธ์ 2563
  • ช่วง F เส้นทางเริ่มจากทางหลวงหมายเลข 224 บริเวณตำบลหนองบัวศาลา อำเภอเมืองนครราชสีมา ผ่านสวนสัตว์นครราชสีมา ไปบรรจบทางหลวงหมายเลข 304 บริเวณตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ขณะนี้ได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ออกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559[4] และได้เซ็นสัญญาจ้างผู้รับเหมาเรียบร้อยแล้ว[5]

ช่วงที่จะเริ่มดำเนินการก่อสร้าง

ช่วงที่ยังไม่ได้เริ่มก่อสร้าง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น