ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ปีให้เป็นแบบปัจจุบัน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| จำนวนหน้า = 490
| จำนวนหน้า = 490
}}</ref>
}}</ref>
| วันสิ้นพระชนม์ = 12 มกราคม พ.ศ. 2427
| วันสิ้นพระชนม์ = 12 มกราคม พ.ศ. 2428
| พระอิสริยยศ = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ]] ชั้น 3<br>กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล
| พระอิสริยยศ = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ]] ชั้น 3<br>กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล
| พระราชบิดา =
| พระราชบิดา =
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล''' มีพระนามเดิมว่า '''พระองค์เจ้าสุบรรณ''' ประสูติเมื่อวันอังคาร แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ ตรงกับวันที่ [[17 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2369]] ทรงเป็นราชโอรสลำดับที่ 46 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับเจ้าจอมมารดาขำ ในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 4]] โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับช่างและทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นภูวนัยนฤเบนทราภิบาล ต่อมาใน[[รัชกาลที่ 5]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ แรม 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ. 2427 ในรัชกาลที่ 5 ด้วยพระชันษา 59 ปี
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล''' มีพระนามเดิมว่า '''พระองค์เจ้าสุบรรณ''' ประสูติเมื่อวันอังคาร แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ ตรงกับวันที่ [[17 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2369]] ทรงเป็นราชโอรสลำดับที่ 46 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับเจ้าจอมมารดาขำ ในรัชสมัย[[รัชกาลที่ 4]] โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับช่างและทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นภูวนัยนฤเบนทราภิบาล ต่อมาใน[[รัชกาลที่ 5]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ แรม 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ. 2427 ในรัชกาลที่ 5 ด้วยพระชันษา 59 ปี


พระองค์ทรงเป็นต้น[[ราชสกุล]] '''สุบรรณ ณ อยุธยา''' โดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลให้แก่ [[หม่อมเจ้าเทโพ สุบรรณ|หม่อมเจ้าเทโพ]] ผู้ขอพระราชทานเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นนามสกุลอันดับที่ 933 ตามประกาศวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456
พระองค์ทรงเป็นต้น[[ราชสกุล]] '''สุบรรณ ณ อยุธยา''' โดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลให้แก่ [[หม่อมเจ้าเทโพ สุบรรณ|หม่อมเจ้าเทโพ]] ผู้ขอพระราชทานเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นนามสกุลอันดับที่ 933 ตามประกาศวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456


==พระโอรสธิดา==
==พระโอรสธิดา==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 13 เมษายน 2564

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล
ไฟล์:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล.jpg
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3
กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล
ประสูติ17 ตุลาคม พ.ศ. 2369 [1]
สิ้นพระชนม์12 มกราคม พ.ศ. 2428
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาเจ้าจอมมารดาขำ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสุบรรณ ประสูติเมื่อวันอังคาร แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ ตรงกับวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2369 ทรงเป็นราชโอรสลำดับที่ 46 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาขำ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับช่างและทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นภูวนัยนฤเบนทราภิบาล ต่อมาในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ เลื่อนเป็นกรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ แรม 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ. 2427 ในรัชกาลที่ 5 ด้วยพระชันษา 59 ปี

พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล สุบรรณ ณ อยุธยา โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลให้แก่ หม่อมเจ้าเทโพ ผู้ขอพระราชทานเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นนามสกุลอันดับที่ 933 ตามประกาศวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456

พระโอรสธิดา

พระองค์ทรงมีพระโอรสและพระธิดา ดังนี้

  1. หม่อมเจ้าวัชรินทร์ สุบรรณ
  2. หม่อมเจ้ากรุง สุบรรณ
  3. หม่อมเจ้าหญิงใหญ่ สุบรรณ
  4. หม่อมเจ้าหญิงมณฑา สุบรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2399 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2474)
  5. หม่อมเจ้าสวัสดิ์ สุบรรณ (ประสูติเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัย พ.ศ. 2427 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
  6. หม่อมเจ้าเทโพ สุบรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2405 พระราชทานเพลิง ณ วัดเครือวัลย์ พ.ศ. 2460) สมรสกับหม่อมวอน สุบรรณ ณ อยุธยา มีโอรสธิดา คือ
    1. หม่อมราชวงศ์หญิงชั้น สุบรรณ
    2. หม่อมราชวงศ์อนันต์นพ สุบรรณ
  7. หม่อมเจ้าหญิงสวาสดิ์ สุบรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2407)
  8. หม่อมเจ้าทัศวรรณ สุบรรณ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าพัทธวรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2416 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2449 พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชาวราราม เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2450)
  9. หม่อมเจ้าธัญญวงศ์ สุบรรณ (ประสูติ พ.ศ. 2418 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2462 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2466) มีหม่อมหลวงวาด (ราชสกุลเดิม : ปาลกะวงศ์) เป็นมารดา สมรสกับหม่อมถมยา สุบรรณ ณ อยุธยา มีโอรสธิดา คือ
    1. หม่อมราชวงศ์หญิงถาวรศรี (จรูญโรจน์) สุบรรณ
    2. หม่อมราชวงศ์หญิงฉวีวรรณ สุบรรณ
    3. หม่อมราชวงศ์ถวัลย์วงศ์ สุบรรณ
    4. หม่อมราชวงศ์หญิงอนงค์นาฎ สุบรรณ
    5. หม่อมราชวงศ์หญิงวิลาศลักษณ์ สุบรรณ
    6. หม่อมราชวงศ์ศักดิ์ประเสริฐ สุบรรณ
    7. หม่อมราชวงศ์หญิงเลิศวิไล สุบรรณ
  10. หม่อมเจ้าพันธวงศ์ สุบรรณ
  11. หม่อมเจ้าหญิงขาบ สุบรรณ
  12. หม่อมเจ้าหญิงสุคนธราศรี สุบรรณ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2446 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ) เสกสมรสกับหม่อมเจ้าวัชรินทร์ สิงหรา พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร
  13. หม่อมเจ้าโกเมศ สุบรรณ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2