ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Fight588 (คุย | ส่วนร่วม)
แต่งตั้งสมพงษ์เป็นผู้นำฝ่ายค้าน (รอบ 2)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| image = สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 2019.jpg
| image = สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 2019.jpg
| incumbent = [[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์]]
| incumbent = [[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์]]
| incumbentsince = 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562
| incumbentsince = 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563
| style =
| style =
| residence =
| residence =
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
| [[16 กันยายน]] [[พ.ศ. 2554]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/122/1.PDF พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 3)], ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557</ref> || [[9 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2556]] <br><small>([[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557|ยุบสภา]])</small>
| [[16 กันยายน]] [[พ.ศ. 2554]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/122/1.PDF พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 3)], ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557</ref> || [[9 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2556]] <br><small>([[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557|ยุบสภา]])</small>
|-
|-
| bgcolor="#cccccc"| '''8''' || [[ไฟล์:สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 2019.jpg|100px]]|| '''[[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์|นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์]]''' || 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=พิเศษ 208 ง|pages=1|title=ประกาศแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (สมพงษ์ อมรวิวัฒน์)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/208/T_0001.PDF|date=21 สิงหาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref> || ''ปัจจุบัน'' || [[พรรคเพื่อไทย]] || bgcolor="#E30613"|
| bgcolor="#cccccc" rowspan=2| '''8''' || rowspan=2| [[ไฟล์:สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 2019.jpg|100px]]|| rowspan=2|'''[[สมพงษ์ อมรวิวัฒน์|นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์]]''' || 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=พิเศษ 208 ง|pages=1|title=ประกาศแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (สมพงษ์ อมรวิวัฒน์)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/208/T_0001.PDF|date=21 สิงหาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref> || 26 กันยายน พ.ศ. 2563<br><small>(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)</small> || rowspan=2| [[พรรคเพื่อไทย]] || rowspan=2 bgcolor="#E30613"|
|-
| 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563 <ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=137|issue=พิเศษ 288 ง|pages=1|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/288/T_0001.PDF|date=9 ธันวาคม 2563|language=ไทย}}</ref> || ปัจจุบัน
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:16, 10 ธันวาคม 2563

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแห่งราชอาณาจักรไทย
ตรารัฐสภา
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

ตั้งแต่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
ผู้ประเดิมตำแหน่งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
สถาปนา22 มีนาคม พ.ศ. 2518
เว็บไซต์parliament.go.th

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคฝ่ายค้าน โดยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่สำคัญคือการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล นอกจากนี้ในกรณีที่มีปัญหาสำคัญเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยหรือเศรษฐกิจของประเทศสมควรที่จะปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งไปยังประธานรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีขอให้มีการเปิดอภิปรายทั่วไปในที่ประชุมรัฐสภาก็ได้ ซึ่งประธานรัฐสภาต้องดำเนินการให้มีการประชุมภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการแจ้ง แต่รัฐสภาจะลงมติในปัญหาที่อภิปรายไม่ได้ ทั้งนี้การประชุมต้องเป็นการประชุมลับ และคณะรัฐมนตรีมีหน้าที่ต้องเข้าร่วมประชุมด้วย และผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรเป็นกรรมการในการสรรหาผู้สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 106 บัญญัติว่า "ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้วพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่มี จำนวนสมาชิกมากที่สุด และสมาชิกมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ในกรณีที่พรรคการเมืองตามวรรคหนึ่ง มีสมาชิกเท่ากัน ให้ใช้วิธีจับสลาก

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อมีเหตุตามมาตรา 118 (1) (2) (3) หรือ (4) ในกรณีเช่นนี้พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง"

ปัจจุบันมีนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

รายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ลำดับ
(สมัย)
รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
พรรคการเมือง
1 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 22 มีนาคม พ.ศ. 2518[1] 12 มกราคม พ.ศ. 2519
(ยุบสภา)
พรรคประชาธิปัตย์
2
(1)
พลตรีประมาณ อดิเรกสาร 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2526[2] 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภา)
พรรคชาติไทย
3
(1)
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 [3] 16 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภา)
พรรคความหวังใหม่
2
(2)
พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร 30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 [4] 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2537
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
พรรคชาติไทย
4
นายบรรหาร ศิลปอาชา 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2537[5] 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภา)
5
(1-2)
นายชวน หลีกภัย 4 สิงหาคม พ.ศ. 2538 [6] 27 กันยายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภา)
พรรคประชาธิปัตย์
21 ธันวาคม พ.ศ. 2539[7] 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี)
3
(2-4)
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540[8] 2 มิถุนายน พ.ศ. 2541
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
พรรคความหวังใหม่
2 กันยายน พ.ศ. 2541[9] 27 เมษายน พ.ศ. 2542
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2542[10] 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
(ยุบสภา)
5
(3)
นายชวน หลีกภัย 11 มีนาคม พ.ศ. 2544[11] 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
พรรคประชาธิปัตย์
6 นายบัญญัติ บรรทัดฐาน 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546[12] 5 มกราคม พ.ศ. 2548
(ลาออก)
7
(1-3)
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 23 เมษายน พ.ศ. 2548[13] 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
(ยุบสภา)
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551[14] 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี)
16 กันยายน พ.ศ. 2554 [15] 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556
(ยุบสภา)
8 นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562[16] 26 กันยายน พ.ศ. 2563
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
พรรคเพื่อไทย
6 ธันวาคม พ.ศ. 2563 [17] ปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  2. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลตรีประมาณ อดิเรกสาร สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  3. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  4. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลตำรวจเอกประมาณ อดิเรกสาร สมัยที่ 2), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  5. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (บรรหาร ศิลปอาชา สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  6. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  7. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 2), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  8. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  9. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  10. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  11. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 3), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  12. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (บรรญัติ บรรทัดฐาน), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  13. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 1), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  14. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 2), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  15. พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 3), ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
  16. "ประกาศแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (สมพงษ์ อมรวิวัฒน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (พิเศษ 208 ง): 1. 21 สิงหาคม พ.ศ. 2562. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  17. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 137 (พิเศษ 288 ง): 1. 9 ธันวาคม 2563.

แหล่งข้อมูลอื่น