สำราญ แพทยกุล
หน้าตา
สำราญ แพทยกุล | |
---|---|
รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 | |
ดำรงตำแหน่ง 29 ธันวาคม พ.ศ. 2516 – 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | |
แม่ทัพภาคที่ 3 | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2512 – พ.ศ. 2516 | |
ก่อนหน้า | พล.ท. อ่อง โพธิกนิษฐ |
ถัดไป | พล.ท. ประสาน แรงกล้า |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 24 เมษายน พ.ศ. 2458 |
เสียชีวิต | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 (71 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | คุณหญิงส่าหรี แพทยกุล |
พลเอก สำราญ แพทยกุล (24 เมษายน พ.ศ. 2458 – 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) อดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[1] อดีตแม่ทัพภาคที่ 1และแม่ทัพภาคที่ 3 และองคมนตรีไทย
การรับราชการ
[แก้]พลเอก สำราญ แพทยกุล เคยดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชา กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ระหว่าง พ.ศ. 2500 – 2504 [2] กองพลทหารราบที่ 4 ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพิษณุโลก เมื่อ พ.ศ. 2504 [3] ดำรงตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 3 ระหว่าง พ.ศ. 2505 – 2507 [4] และตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2510 – 2512 [5] และเคยได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516[6]
สำราญ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มนวพล เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2517 มีรหัส นวพล 001 ได้รับโปรดเกล้า ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรีเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 [7] ดำรงตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 [7]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2517 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[8]
- พ.ศ. 2511 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[9]
- พ.ศ. 2512 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[10]
- พ.ศ. 2512 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ส.)[11]
- พ.ศ. 2517 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[12]
- พ.ศ. 2477 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (พ.ร.ธ.)[13]
- พ.ศ. 2515 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[14]
- พ.ศ. 2491 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[15]
- พ.ศ. 2522 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)[16]
- พ.ศ. 2493 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (ร.ร.ศ.9)
- พ.ศ. 2475 – เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ปี (ร.ฉ.พ.)
- พ.ศ. 2500 – เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ
- พ.ศ. ไม่ปรากฎ – เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 1 (เหรียญทอง)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ↑ "กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-21. สืบค้นเมื่อ 2007-11-02.
- ↑ "กองพลทหารราบที่ 4". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-31. สืบค้นเมื่อ 2007-11-02.
- ↑ "กองทัพภาคที่ 3". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-31. สืบค้นเมื่อ 2007-11-02.
- ↑ กองทัพภาคที่ 1[ลิงก์เสีย]
- ↑ "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-27. สืบค้นเมื่อ 2014-07-08.
- ↑ 7.0 7.1 จีรวัฒน์ ครองแก้ว. องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน. กรุงเทพ : มูลนิธิทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ, พ.ศ. 2550. 269 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 978-974-7362-09-1
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๖, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เก็บถาวร 2022-11-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๔๖ ง หน้า ๑๘๓๗, ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๑๑๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๖, ๒๖ ธันวาคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน เก็บถาวร 2022-10-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๓๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๑, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เก็บถาวร 2022-05-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๑๘๘, ๗ ตุลาคม ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน เก็บถาวร 2022-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๑๐๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๑๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๕ ตอนที่ ๗๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๐๒, ๒๕ ธันวาคม ๒๔๙๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๙๖ ตอนที่ ๑๕๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๑๓ กันยายน ๒๕๒๒
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2458
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2529
- ทหารบกชาวไทย
- แม่ทัพภาคที่ 1
- แม่ทัพภาคที่ 3
- องคมนตรี
- รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 6 ตุลา
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา
- ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์
- องคมนตรีในรัชกาลที่ 9
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์