ประเทศโกตดิวัวร์
![]() |
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
République de Côte d'Ivoire (ฝรั่งเศส)
|
||||||
|
||||||
คำขวัญ: Unity, Discipline and Labour" (แปล) เอกภาพ ระเบียบวินัย และแรงงาน | ||||||
เพลงชาติ: ลาบีจาแนซ
|
||||||
เมืองหลวง | ยามุสซุโกร 6°51′N 5°18′W / 6.850°N 5.300°W |
|||||
เมืองใหญ่สุด | อาบีจาน | |||||
Ivory Coast - Location Map (2013) - CIV - UNOCHA.svg | ||||||
ภาษาราชการ | ภาษาฝรั่งเศส | |||||
ภาษาพื้นเมือง | ภาษาดยูลา, ภาษาบาอัวเล, ภาษาดาน, ภาษาอานยิน, ภาษาเซนารี,ภาษานูชิ | |||||
การปกครอง | สาธารณรัฐ | |||||
• | ประธานาธิบดี | อาลาซาน วาตารา | ||||
• | นายกรัฐมนตรี | ดาเนียล กาบล็อง เดิงก็อง | ||||
ประกาศเอกราช | ||||||
• | จาก ฝรั่งเศส | 7 สิงหาคม ค.ศ. 1960 | ||||
พื้นที่ | ||||||
• | รวม | 322,460 ตร.กม. (68) 124,502 ตร.ไมล์ |
||||
• | แหล่งน้ำ (%) | 1.4% | ||||
ประชากร | ||||||
• | 2548 (ประเมิน) | 18,154,000 ¹ (57) | ||||
• | 2531 (สำมะโน) | 10,815,694 | ||||
• | ความหนาแน่น | 54 คน/ตร.กม. (118) 140 คน/ตร.ไมล์ |
||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 96.270 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 3,856 | ||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 39.906 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 1,598 | ||||
HDI (2559) | ![]() |
|||||
สกุลเงิน | CFA franc (XOF ) |
|||||
เขตเวลา | เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC+0) | |||||
• | ฤดูร้อน (DST) | ไม่ใช้ DST (UTC+0) | ||||
โดเมนบนสุด | .ci | |||||
รหัสโทรศัพท์ | 225 |
โกตดิวัวร์ (ฝรั่งเศส: Côte d'Ivoire, เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [kot divwaʀ]) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไอวอรีโคสต์ (อังกฤษ: Ivory Coast) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (ฝรั่งเศส: République de Côte d'Ivoire) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศตะวันตกติดกับประเทศกินีและประเทศไลบีเรีย ทิศเหนือติดกับประเทศมาลีและประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับประเทศกานา ส่วนทิศใต้เป็นอ่าวกินี ในอดีตเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรืองแห่งหนึ่งของแอฟริกา แต่ช่วงหลังต้องเผชิญปัญหาสงครามกลางเมืองและการคอร์รัปชัน
เนื้อหา
ภูมิศาสตร์[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ลักษณะภูมิอากาศ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ประวัติศาสตร์[แก้]
โกตดิวัวร์เคยเป็นจังหวัดหนึ่งของแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศส โดยมีรัฐบาลของตนเองอยู่ในประชาคมฝรั่งเศส (French Community) ตั้งแต่ปี 2501 ปี 2502 ดร. Felix Houphouet-Boigny ผู้นำพรรค Parti Democratique de la Cote d’Ivoire - Rassemblement Democratique Africain (PDCI-RDA) ได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรก
โกตดิวัวร์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2503 และในเดือน ต.ค. ปีเดียวกัน ดร. Houphouet-Boigny ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดี โดย PDCI-RDA เป็นพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวที่ถูกต้องตามกฎหมาย รัฐบาลได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสทำให้รัฐบาลที่มีเสถียรภาพและประเทศมีอัตราการเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจสูง แม้จะมีกลุ่มการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาล แต่ก็ไม่มีผู้นำที่เข้มแข็งมาเป็นคู่แข่งของประธานาธิบดี Houphouet-Boigny ที่ได้รับเลือกตั้งติดต่อกันถึง 6 สมัย (ครั้งล่าสุดได้รับเลือกตั้ง เมื่อเดือน ต.ค. 2533) และประธานาธิบดี Houphouet-Boigny ได้ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2536 ดังนั้น ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ นาย Henri Konan Bedie ประธานรัฐสภา จึงเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสืบแทนต่อไปภายในกำหนดวาระที่เหลืออยู่ และในการเลือกตั้งเดือนต.ค. 2538 นาย Henri Konan Bedie ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกวาระหนึ่ง (ได้คะแนนเสียง 95%) การเลือกตั้งครั้งต่อไปกำหนดให้มีขึ้นในเดือนตุลาคม 2543- รัฐบาลประธานาธิบดี Bedie ได้รับการวิพากวิจารณ์เรื่องความไม่เป็นประชาธิปไตยเนื่องจากมีการปราบปรามผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลและพรรคการเมืองฝ่ายค้านด้วยวิธีรุนแรง นอกจากนี้ ยังมีการทุจริตในคณะรัฐบาลอย่างกว้างขวาง IMF และ EU ระงับความช่วยเหลือทางการเงินแก่โกตดิวัวร์ในปี 2542 เนื่องจากปัญหาการทุจริตในระบบราชการ- วันที่ 24 ธันวาคม 2542 พลเอก Robert Guei นำคณะทหารทำรัฐประหารและปลดประธานาธิบดี Bedie ออกจากตำแหน่ง พลเอก Guei ได้จัดตั้งคณะกรรมการกู้ภัยสาธารณะแห่งชาติ (The National Salvation Co -CNSP) - วันที่ 5 มกราคม 2543 คณะ CNSP ประกาศรายชื่อคณะรัฐมนตรี โดยมีสมาชิกจากอดีตพรรคการเมืองหลัก 2 พรรค คือ พรรค The Rally of the Repubicans-RDR ของอดีตนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลประธานาธิบดี Houphouet-Boigny และพรรค The Ivorian Popular Front Party-FPI อย่างไรก็ตาม คณะ CNSP ได้แต่งตั้งให้ทหารตำแหน่งรัฐมนตรีในกระทรวงหลัก เช่น กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการต่างประเทศ
การเมืองการปกครอง[แก้]
บริหาร[แก้]
นิติบัญญัติ[แก้]
ตุลาการ[แก้]
ต่างประเทศ[แก้]
- ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับโกตดิวัวร์เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2509 - เดิมไทยมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลากอส สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย ซึ่งปิดทำการลงเมื่อปี 2539 มีเขตอาณาครอบคลุมโกตดิวัวร์ และมีสำนักงานฝ่ายพาณิชย์อยู่ที่กรุงอาบิดจัน ปัจจุบันไทยมีโครงการให้สอท. ณ กรุงดาการ์มีเขตอาณาครอบคลุมโกตดิวัวร์แทนสอท. ณ กรุงลากอส และรัฐบาลโกตดิวัวร์ได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ส่วนโกตดิวัวร์ได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตที่กรุงปักกิ่งมีเขตอาณาครอบคลุมไทย - ความสัมพันธ์ระหว่างกันราบรื่น ส่วนด้านการค้าประเทศโกตติวัวร์อยู่ภายใต้เขตอาณาของ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงอาบูจา ประเทศไนจีเรีย
กองทัพ[แก้]
สิทธิมนุษยชน[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
เศรษฐกิจ[แก้]
โครงสร้าง[แก้]
เป็นประเทศคู่ค้าที่สำคัญประเทศหนึ่งของไทยในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก โดยระหว่างปี 2537-2540 ไทยเป็นฝ่ายเสียเปรียบดุลการค้า และไทยเพิ่งจะมาได้เปรียบดุลการค้าในช่วงปี 2541-2542
สินค้าออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ ข้าว ปูนซิเมนต์ รองเท้าและชิ้นส่วน เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน ผ้าปักและลูกไม้ เม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์พลาสติก และสินค้าเข้าที่สำคัญ ได้แก่ เส้นใยใช้ในการทอ ส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ เคมีภัณฑ์ สินแร่โลหะอื่นๆ ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ
การท่องเที่ยว[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]
การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ไม่รู้
วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
การศึกษา[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ประชาชนจำนวนมากในโกตดิวัวร์ยังอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ประชาชนที่ไม่ได้รับการศึกษาเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โรงเรียนมัธยมในประเทศมีนักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศชาย
สาธารณสุข[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ประชากรศาสตร์[แก้]
เชื่อชาติ[แก้]
ประชากร 23,919,000 คน (ปี 2014 ) - Akan (42.1%) - Gur (17.6%) - Northern Mandes (16.5%) - Krous (11%) - Southern Mandes(10%)
นอกเหนือจากนี้มีชาวฝรั่งเศส เลบานอน เวียดนาม และสเปน อยู่ในประเทศอีกจำนวนหนึ่ง
ศาสนา[แก้]
คริสต์ (44.1%) อิสลาม (37.5%) ความเชื่อดั้งเดิม (10.2%)
ภาษา[แก้]
ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ ภาษาพูดพื้นเมืองที่สำคัญ ได้แก่ Oloule, Baoule และ Bete
กีฬา[แก้]
ฟุตบอล[แก้]
ฟุตบอลทีมชาติโกตดิวัวร์ (ฝรั่งเศส: équipe de Côte d'Ivoire de football) หรือ ฟุตบอลทีมชาติไอวอรีโคสต์ (อังกฤษ: Ivory Coast national football team) เป็นสโมสรฟุตบอลจากประเทศโกตดิวัวร์ สโมสรทีมชาตินี้ได้ประสบความสำเร็จในระดับประเทศหลายครั้ง เช่น ชนะเลิศแอฟริกันคัพ ในปี ค.ศ. 1992 และได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายสามครั้งในฟุตบอลโลก 2006 ,ฟุตบอลโลก 2010 และฟุตบอลโลก 2014
มวยสากล[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
วัฒนธรรม[แก้]
สถาปัตยกรรม[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
อาหาร[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ดนตรี[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
สื่อสารมวลชน[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
วันหยุด[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
อ้างอิง[แก้]
- หัวข้อข่าว ยูเอ็นประกาศคว่ำบาตรไอวอรี่โคสต์ : voicetv
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
ค้นหาเกี่ยวกับ Côte d'Ivoire เพิ่มที่โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย | |
![]() |
บทนิยาม จากวิกิพจนานุกรม |
![]() |
สื่อ จากคอมมอนส์ |
![]() |
ทรัพยากรการเรียน จากวิกิวิทยาลัย |
![]() |
อัญพจน์ จากวิกิคำคม |
![]() |
ข้อความต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ |
![]() |
ตำรา จากวิกิตำรา |
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ (ฝรั่งเศส)
- Cote d'Ivoire entry at The World Factbook
- ประเทศโกตดิวัวร์ ที่ดีมอซ
Wikimedia Atlas of Côte d'Ivoire
- พาณิชย์