ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307
(เปลี่ยนทางจาก ถนนนนทบุรี-ปทุมธานี)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 | |
---|---|
นนทบุรี-ปทุมธานี, กรุงเทพฯ-ปทุมธานี, ปทุมธานีสายนอก, ปทุมธานี-บางคูวัด | |
![]() ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 บริเวณหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาปทุมธานี ใน อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี | |
ข้อมูลของเส้นทาง | |
ความยาว: | 10.813 กิโลเมตร (6.719 ไมล์) |
มีขึ้นเมื่อ: | พ.ศ. 2499 – ปัจจุบัน |
ทางแยกที่สำคัญ | |
ปลายทางทิศใต้: | ![]() |
ปลายทางทิศเหนือ: | ![]() ![]() |
ระบบทางหลวง | |
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 สายแยกสวนสมเด็จ–แยกปทุมวิไล บางครั้งเรียกว่า ถนนนนทบุรี–ปทุมธานี, ถนนกรุงเทพฯ–ปทุมธานี และ ถนนปทุมธานีสายนอก เป็นเส้นทางที่ต่อมาจากถนนศรีสมานที่แยกสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ (จุดตัดกับถนนติวานนท์) ในอำเภอปากเกร็ด ข้ามสะพานนนทบุรี เข้าสู่อำเภอเมืองปทุมธานี เลี้ยวขวาที่แยกบางคูวัด มุ่งสู่ตัวจังหวัดปทุมธานี ไปบรรจบที่ แยกปทุมวิไล จุดตัดกับ ถนนปทุมสัมพันธ์ และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 รวมระยะทางประมาณ 10.8 กิโลเมตร
ความรับผิดชอบ[แก้]
- ช่วง A-B (ตั้งแต่สี่แยกสวนสมเด็จฯ ถนนติวานนท์ ไปถึงสะพานนนทบุรี) ระยะทาง 1.400 กิโลเมตร ดูแลโดยหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี
- ช่วง B-C (ตั้งแต่สะพานนนทบุรี ไปถึงสี่แยกปทุมวิไล ถนนปทุมสัมพันธ์และถนนปทุมลาดหลุมแก้ว) ระยะทาง 9.413 กิโลเมตร ดูแลโดยหมวดทางหลวงลาดหลุมแก้ว แขวงทางหลวงปทุมธานี[1]
สถานที่สำคัญ[แก้]
ทางแยกที่สำคัญ[แก้]
จังหวัด | กม.ที่ | ชื่อจุดตัด | ซ้าย | ขวา | ||
---|---|---|---|---|---|---|
![]() | ||||||
ปทุมธานี | 10+813 | แยกปทุมวิไล | เชื่อมต่อจาก: ![]() | |||
![]() ![]() ![]() |
![]() | |||||
3+975 | แยกบางคูวัด | ![]() |
![]() | |||
ไม่มี | ![]() ![]() | |||||
![]() | ||||||
ปทุมธานี | 3+975 | แยกบางคูวัด | เชื่อมต่อจาก: ![]() | |||
ไม่มี | ![]() | |||||
ไม่มี | ![]() | |||||
2+500 | ไม่มี | ถนนปทุมธานีสายใน ไปเข้าเมืองปทุมธานี | ||||
นนทบุรี | 1+100 | สะพานนนทบุรี (สะพานนวลฉวี) ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา | ||||
0+000 | แยกสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ | ![]() |
![]() | |||
ตรงไป: ![]() | ||||||
สะพาน กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ บัญชีชื่อสายทาง/ระยะทางหลวง เก็บถาวร 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
![]() |
บทความเกี่ยวกับการเดินทาง การคมนาคม และการขนส่งนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |