จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
|
|
5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 72.09% |
---|
|
First party
|
Second party
|
Third party
|
|
|
|
|
พรรค
|
ไทยรักไทย
|
ประชาธิปัตย์
|
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
|
ที่นั่งก่อนหน้า
|
พรรคใหม่
|
3
|
1
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
2
|
2
|
1
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
2
|
1
|
0
|
คะแนนเสียง
|
159,818
|
154,504
|
32,444
|
%
|
40.24
|
38.90
|
8.17
|
|
|
Fourth party
|
|
|
|
|
พรรค
|
ความหวังใหม่
|
|
ที่นั่งก่อนหน้า
|
1
|
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
0
|
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
1
|
|
คะแนนเสียง
|
2,183
|
|
%
|
0.55
|
|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดราชบุรี)
[แก้]
คะแนนเสียง |
|
|
|
ไทยรักไทย |
|
40.24% |
ประชาธิปัตย์ |
|
38.90% |
ชาติพัฒนา |
|
8.17% |
ความหวังใหม่ |
|
0.55% |
อื่น ๆ |
|
12.14% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดราชบุรี)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ
[แก้]
ก • ค ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดราชบุรี
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
ร้อยละ
|
|
เสรีประชาธิปไตย (1)
|
2,440
|
0.61
|
|
ชาวไทย (2)
|
775
|
0.20
|
|
กสิกรไทย (3)
|
628
|
0.16
|
|
นิติมหาชน (4)
|
1,127
|
0.28
|
|
ความหวังใหม่ (5)
|
2,183
|
0.55
|
|
รักสามัคคี (6)
|
1,644
|
0.41
|
|
ไทยรักไทย (7)
|
159,818
|
40.24
|
|
ชาติประชาธิปไตย (8)
|
3,325
|
0.84
|
|
ชาติไทย (9)
|
3,556
|
0.90
|
|
สันติภาพ (10)
|
267
|
0.07
|
|
ถิ่นไทย (11)
|
11,076
|
2.79
|
|
พลังประชาชน (12)
|
979
|
0.25
|
|
ราษฎร (13)
|
727
|
0.18
|
|
สังคมใหม่ (14)
|
637
|
0.16
|
|
เสรีธรรม (15)
|
1,362
|
0.34
|
|
ประชาธิปัตย์ (16)
|
154,504
|
38.90
|
|
อำนาจประชาชน (17)
|
2,161
|
0.54
|
|
ประชากรไทย (18)
|
3,580
|
0.90
|
|
ไท (19)
|
617
|
0.16
|
|
ก้าวหน้า (20)
|
474
|
0.12
|
|
ชาติพัฒนา (21)
|
32,444
|
8.17
|
|
แรงงานไทย (22)
|
400
|
0.10
|
|
เผ่าไท (23)
|
208
|
0.05
|
|
สังคมประชาธิปไตย (24)
|
470
|
0.12
|
|
ชีวิตที่ดีกว่า (25)
|
363
|
0.09
|
|
พัฒนาสังคม (26)
|
690
|
0.17
|
|
ไทยช่วยไทย (27)
|
1,536
|
0.39
|
|
ไทยมหารัฐ (28)
|
505
|
0.13
|
|
ศรัทธาประชาชน (29)
|
204
|
0.05
|
|
วิถีไทย (30)
|
231
|
0.06
|
|
ไทยประชาธิปไตย (31)
|
3,817
|
0.96
|
|
พลังธรรม (32)
|
1,037
|
0.26
|
|
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33)
|
630
|
0.16
|
|
กิจสังคม (34)
|
490
|
0.12
|
|
เกษตรมหาชน (35)
|
416
|
0.10
|
|
พลังเกษตรกร (36)
|
955
|
0.24
|
|
สยาม (37)
|
882
|
0.22
|
|
บัตรดี
|
397,158
|
94.91
|
บัตรเสีย
|
9,738
|
2.34
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
8,961
|
2.75
|
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
415,857
|
72.09
|
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|
576,825
|
100.00
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวัดเพลง อำเภอปากท่อ อำเภอสวนผึ้ง อำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง) อำเภอจอมบึง (เฉพาะตำบลรางบัว) และกิ่งอำเภอบ้านคา
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ไทยรักไทย
|
วิวัฒน์ นิติกาญจนา (7)
|
40,233
|
63.12
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
พันธ์ณรงค์ ประจักษ์จิตร (16)
|
23,510
|
36.88
|
|
|
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
|
สมบัติ เรืองกฤษ (21)†
|
–
|
–
|
–
|
ผลรวม
|
63,743
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
63,743
|
80.21
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
4,390
|
5.52
|
–
|
บัตรเสีย
|
11,338
|
14.27
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
79,471
|
71.75
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
110,754
|
100.00
|
—
|
|
ไทยรักไทย
ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
|
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอจอมบึง (ยกเว้นตำบลรางบัว) และอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง และตำบลบ้านสิงห์)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ประไพพรรณ เส็งประเสริฐ (16)
|
38,600
|
55.64
|
|
|
ไทยรักไทย
|
ทวี ไกรคุปต์ (7)*
|
25,177
|
36.29
|
|
|
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
|
ประสาร วิเศษรจนา (21)
|
2,657
|
3.83
|
|
|
ความหวังใหม่
|
เอกลักษณ์ ขำดี (5)
|
1,937
|
2.79
|
|
|
ประชากรไทย
|
ฤทธิรงค์ นาคเนียม (18)
|
998
|
1.44
|
|
ผลรวม
|
69,369
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
69,369
|
83.41
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
3,575
|
4.30
|
–
|
บัตรเสีย
|
10,221
|
12.29
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
83,165
|
73.86
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
112,065
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบ้านโป่ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดราชบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
วิจัย วัฒนาประสิทธิ์ (16)*
|
32,024
|
41.53
|
|
|
ไทยรักไทย
|
จิระ มังคลรังษี (7)✔
|
22,736
|
29.49
|
|
|
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
|
ชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร (21)
|
20,902
|
27.11
|
|
|
ประชากรไทย
|
วีระกาญจน์ เงินพุ่ม (18)
|
743
|
0.96
|
|
|
ความหวังใหม่
|
พันตำรวจโท ปราโมช อังกูรวิบูลย์ (5)
|
694
|
0.90
|
|
ผลรวม
|
77,099
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
77,099
|
87.34
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
3,001
|
3.40
|
–
|
บัตรเสีย
|
8,176
|
9.26
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
88,276
|
75.33
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
117,186
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอดำเนินสะดวก อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง และตำบลบ้านสิงห์)
ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นางกอบกุล นพอมรบดี ว่าที่ ส.ส.เขต 1 พรรคชาติพัฒนา และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดราชบุรี โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 29 มกราคม 2544
ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|