จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

10 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ70.67%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 10 0
ที่นั่งที่ชนะ 10 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 542,611 139,799
% 73.91 19.04

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 10 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 542,611 73.91%
ไทยรักไทย 139,799 19.04%
อื่น ๆ 51,783 7.05%
ผลรวม 734,193 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
73.91%
ไทยรักไทย
  
19.04%
อื่น ๆ
  
7.05%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 7,836 1.07
กิจสังคม (2) 520 0.07
พัฒนาชาติไทย (3) 1,470 0.20
ประชาธิปัตย์ (4) 542,611 73.91
ประชาชนไทย (5) 1,040 0.14
คนขอปลดหนี้ (6) 1,648 0.23
ธรรมชาติไทย (7) 403 0.06
แผ่นดินไทย (8) 570 0.08
ไทยรักไทย (9) 139,799 19.04
ความหวังใหม่ (10) 436 0.06
มหาชน (11) 12,797 1.74
ประชากรไทย (12) 383 0.05
ไทยช่วยไทย (13) 689 0.09
แรงงาน (14) 14,671 2.00
ชาติประชาธิปไตย (15) 5,759 0.78
กสิกรไทย (16) 202 0.03
ทางเลือกที่สาม (17) 177 0.02
รักษ์ถิ่นไทย (18) 212 0.03
พลังเกษตรกร (19) 2,684 0.37
พลังประชาชน (20) 286 0.04
บัตรดี 734,193 96.65
บัตรเสีย 19,909 2.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,558 0.73
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 759,660 70.67
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,074,904 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าวัง ตำบลคลัง ตำบลในเมือง ตำบลโพธิ์เสด็จ และตำบลปากพูน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ (4)** 39,915 57.23
ไทยรักไทย กณพ เกตุชาติ (9) 29,629 42.48
มหาชน ประดิษฐ์ ทองคณารักษ์ (11) 105 0.15
ความหวังใหม่ สุธรรม จันทร์แก้ว (10) 100 0.14
ผลรวม 69,749 100.00
บัตรดี 69,749 95.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,011 1.38
บัตรเสีย 2,643 3.60
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,403 71.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,718 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพรหมคีรี, อำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลดอนตะโก ตำบลท่าศาลา ตำบลโพธิ์ทอง ตำบลโมคลาน และตำบลหัวตะพาน), อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่างิ้ว ตำบลนาทราย และตำบลนาเคียน) และกิ่งอำเภอนบพิตำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ (4)* 51,795 69.75
ไทยรักไทย อิสระ หัสดินทร์ (9) 14,877 20.04
มหาชน วันประทีป วาระเพียง (11) 7,584 10.21
ผลรวม 74,256 100.00
บัตรดี 74,256 93.78
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,138 1.44
บัตรเสีย 3,788 4.78
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,182 73.14
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,256 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอพระพรหม, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าซัก ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลปากนคร และตำบลกำแพงเซา) และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลคลองน้อย ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นริศา อดิเทพวรพันธุ์ (4)* 51,257 72.56
ไทยรักไทย นัฎฐ์ประชา เกื้อสกุล (9) 19,385 27.44
ผลรวม 70,642 100.00
บัตรดี 70,642 93.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 821 1.09
บัตรเสีย 4,068 5.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,531 67.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,095 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอขนอม อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว ตำบลท่าขึ้น และตำบลไทยบุรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (4)* 45,094 57.08
ไทยรักไทย ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ (9) 27,870 35.28
ชาติไทย พันตำรวจตรี วัตรภู อาจหาญ (1) 6,037 7.64
ผลรวม 79,001 100.00
บัตรดี 79,001 94.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,011 1.21
บัตรเสีย 3,622 4.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,634 75.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,223 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอพิปูน อำเภอลานสกา อำเภอฉวาง (ยกเว้นตำบลฉวาง และตำบลนากะชะ) และกิ่งอำเภอช้างกลาง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ (4)* 60,779 77.33
ไทยรักไทย วีรวรรณ จงจิตรศิริจิรกาล (9) 14,107 17.95
มหาชน กิตติ วุธรา (11) 2,871 3.65
ชาติไทย ชยุตม์ ลิ้มประสิทธิ์วงศ์ (1) 841 1.07
ผลรวม 78,598 100.00
บัตรดี 78,598 94.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,008 1.21
บัตรเสีย 3,474 4.18
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,080 73.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,626 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอบางขัน อำเภอทุ่งใหญ่ อำเภอนาบอน อำเภอถ้ำพรรณรา และอำเภอฉวาง (เฉพาะตำบลฉวาง และตำบลนากะซะ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เทพไท เสนพงศ์ (4) 61,470 75.27
ไทยรักไทย อารีย์ พลรัฐธนาสิทธิ์ (9) 19,995 24.49
ความหวังใหม่ สุชิลา สุขเรือง (10) 198 0.24
ผลรวม 81,663 100.00
บัตรดี 81,663 95.31
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 835 0.97
บัตรเสีย 3,184 3.72
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,682 77.10
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,133 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประกอบ รัตนพันธ์ (4)* 50,849 67.98
ไทยรักไทย วิทูร กรุณา (9) 22,825 30.52
ชาติไทย วีระศักดิ์ อนุเคราะห์กุล (1) 1,125 1.50
ผลรวม 74,799 100.00
บัตรดี 74,799 95.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,172 1.49
บัตรเสีย 2,594 3.30
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,565 77.00
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,038 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอจุฬาภรณ์ อำเภอร่อนพิบูลย์ และ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อภิชาต ศักดิเศรษฐ์ (4) 51,389 81.34
ไทยรักไทย อาคม สุวรรณนพ (9)✔ 11,787 18.66
ผลรวม 63,176 100.00
บัตรดี 63,176 93.20
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,160 1.71
บัตรเสีย 3,452 5.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 67,788 63.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,452 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอชะอวด อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ และตำบลเกาะทวด)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อภิชาต การิกาญจน์ (4)* 41,141 63.85
มหาชน ประกอบ คงพรหม (11) 10,602 16.46
ไทยรักไทย บุญเรือง วุฒิวงศ์ (9) 9,030 14.02
ชาติไทย ชนะวัฒน์ ษารักษ์ (1) 3,045 4.73
ประชาชนไทย ชัยพร ชัยฤทธิ์ (5) 614 0.95
ผลรวม 64,432 100.00
บัตรดี 64,432 93.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,071 1.55
บัตรเสีย 3,737 5.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 69,240 65.36
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,929 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 10[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยอำเภอหัวไทร และอำเภอปากพนัง (ยกเว้นตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ ตำบลเกาะทวด ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิทยา แก้วภราดัย (4)* 46,565 78.37
ไทยรักไทย เร็วจริง รัตนวิชา (9) 7,900 13.30
มหาชน สุณัณฐ์ พัชรครุกานนท์ (11) 4,816 8.11
ความหวังใหม่ เกริก เศวตสกุลานนท์ (10) 133 0.22
ผลรวม 59,414 100.00
บัตรดี 59,414 93.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 814 1.28
บัตรเสีย 3,314 5.22
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 63,542 61.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 103,434 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.