ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน565,139
ผู้ใช้สิทธิ36.25%
  First party Second party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถนัด คอมันตร์
พรรค กิจสังคม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 8
ที่นั่งที่ชนะ 5 3
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 ลดลง5

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุพัตรา มาศดิตถ์ (4) 34,059
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (3)* 33,589
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (5) 28,170
กิจสังคม สุรพล นาควานิช (9) 23,681
กิจสังคม สมนึก ฉวีภักดิ์ (8) 22,924
กิจสังคม ณรงค์ นุกูลกิจ (10) 20,582
ชาติไทย พันตำรวจเอก (พิเศษ) วิจิตร เชาวลิต (7) 14,603
ไม่สังกัดพรรค โสภณ วัชรสินธุ์ (13)* 8,767
ชาติไทย ชอบ ภารา (6)✔ 7,669
ไม่สังกัดพรรค วิภาต วัจนะพันธ์ (11) 7,239
ไม่สังกัดพรรค เกษม โสภณ (2) 6,706
ไม่สังกัดพรรค กำพล จรุงวาส (12) 3,099
ไม่สังกัดพรรค จ่าสิบเอก ชาญณรงค์ ขอจิตต์เมตต์ (1) 3,023
ไม่สังกัดพรรค แนบ ผ่องแผ้ว (14)* 2,817
ไม่สังกัดพรรค จีรวัฒน์ เรืองรอง (15) 2,789
ไม่สังกัดพรรค ณรงค์ศักดิ์ ปุจฉากาญจน์ (16) 1,318
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, และกิ่งอำเภอนาบอน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม เอื้อม อุบลพันธุ์ (8) 30,602
กิจสังคม นิวัตร จินตวร (9) 30,024
กิจสังคม นิยม คำแหง (10) 28,568
ประชาธิปัตย์ บุญส่ง ชำนาญกิจ (4) 20,714
ประชาธิปัตย์ เกษม เจริญพานิช (3)* 17,380
ประชาธิปัตย์ เชวงศักดิ์ เมฆา (5) 17,143
ไม่สังกัดพรรค สุวิทย์ โนวัฒน์ (7) 13,512
ไม่สังกัดพรรค เพิ่มศักดิ์ จริตงาม (6)* 9,149
ไม่สังกัดพรรค บุญชัย ฤทธิประดิษฐโชค (1) 6,673
ไม่สังกัดพรรค พันตำรวจตรี วิชัย ฑียาพงศ์ (12) 5,906
ไม่สังกัดพรรค จำนงค์ จิตต์สักคุณา (2) 4,911
สังคมประชาธิปไตย สวัสดิ์ หนูขาว (13) 3,730
สังคมประชาธิปไตย วิโรจน์ ศักดิเศรษฐ์ (14) 3,164
ประชากรเกษตร ปราณี วงศ์สวัสดิ์ (11) 2,663
ไม่สังกัดพรรค สิบตำรวจเอก พยัตต์ เดชารัตน์ (15) 1,908
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม คล่อง รักษ์ทอง (4) 21,577
กิจสังคม จรัส โพธิ์ศิริ (3) 16,551
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นุ่นทอง (5)* 15,240
ประชาธิปัตย์ ธงชาติ รัตนวิชา (6)* 13,153
ไม่สังกัดพรรค กระเษียร มุกดาวิจิตร (8) 12,416
ไม่สังกัดพรรค ผ่อง มีซ้าย (2) 3,630
ไม่สังกัดพรรค ประจวบ โพธิถาวร (7) 3,471
ไม่สังกัดพรรค วิชัย จันทรพันธ์ (1) 2,750
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523