ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน783,630
ผู้ใช้สิทธิ52.19%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย จำลอง ศรีเมือง อุทัย พิมพ์ใจชน
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังธรรม เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 7 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 6 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ (2)* 87,502
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (3)✔ 81,591
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (1)* 78,868
พลังธรรม เดชา สามารถ (4)* 61,456
พลังธรรม สมาน เลือดวงหัด (5) 49,833
พลังธรรม วิฑูรย์ ศรีเมือง (6) 46,764
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, อำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ตรีพล เจาะจิตต์ (1)* 97,339
ประชาธิปัตย์ สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ (2) 95,821
ประชาธิปัตย์ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ (3)* 95,449
พลังธรรม โกวิทย์ พวงงาม (5) 41,869
พลังธรรม บุญส่ง ชำนาญกิจ (4)✔ 40,685
พลังธรรม วิรัตน์ ศักดิ์จิรพาพงษ์ (6) 37,706
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังธรรม ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ (1)* 70,039
พลังธรรม วิทยา แก้วภราดัย (2)✔ 64,706
พลังธรรม สุธรรม แสงประทุม (3)✔ 63,052
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นุ่นทอง (7)* 53,546
ประชาธิปัตย์ อภิชาต การิกาญจน์ (8)* 52,360
ประชาธิปัตย์ บุญพรรณ สุทธิวิริวรรณ (9) 51,562
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ธีรยุทธ์ เจริญรูป (6) 1,416
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สุธรรม จันทร์แก้ว (4) 908
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สายหยุด จันทร์แก้ว (5) 750
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536