ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน666,281
ผู้ใช้สิทธิ49.67%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล อุทัย พิมพ์ใจชน สิทธิ เศวตศิลา
พรรค ประชาธิปัตย์ ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 9 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง5 เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
ผู้นำ เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
พรรค ประชาชน (พ.ศ. 2531)
ที่นั่งก่อนหน้า 0
ที่นั่งที่ชนะ 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ (5)* 61,562
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (6)* 57,323
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (4)* 56,755
พลังธรรม สุรศักดิ์ พุ่มมณี (7) 27,552
พลังธรรม ประนอม ศรีสงคราม (8) 24,575
พลังธรรม สุชาติ ภู่จามร (9) 21,836
ประชากรไทย อภินันท์ สมวงศ์ใหญ่ (2) 11,565
ประชากรไทย จรินทร์ ดีฬชนะ (3) 9,609
พลังสังคมประชาธิปไตย ประยูร มาศบำรุง (10) 6,520
ประชากรไทย แช่ม ขูเมือง (1) 4,555
พลังสังคมประชาธิปไตย รัตนาพร กาญจนอุดม (11) 4,370
พลังสังคมประชาธิปไตย อุดมศักดิ์ รัตนะ (12) 3,190
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอบางขัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุพัตรา มาศดิตถ์ (10)* 49,041
กิจสังคม นิยม คำแหง (9)✔ 42,117
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พลเอก หาญ ลีนานนท์ (13)* 39,448
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ถวิล ไพรสณฑ์ (15)* 33,370
ประชาธิปัตย์ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ (11) 31,206
ประชาธิปัตย์ จเร รัตนพันธ์ (12) 27,089
ประชาชน (พ.ศ. 2531) บุญส่ง ชำนาญกิจ (14)* 26,618
พลังธรรม นิภา ฝั่งชลจิตต์ (1) 14,548
กิจสังคม พันโท ณรงค์ ไกรนรา (8) 13,476
กิจสังคม เอื้อม อุบลพันธุ์ (7)✔ 13,042
พลังธรรม สมประสงค์ สมมาตร (2) 11,832
พลังธรรม เรวัฒน์ ปรีชาวัย (3) 11,713
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เริง เกตุแก้ว (16) 4,262
มวลชน สมศักดิ์ ชาญสวัสดิ์ (5) 2,501
มวลชน สมเกียรติ ธราพร (6) 2,119
มวลชน กฤช วงศ์พิพันธ์ (4) 2,058
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ดำรงค์ สามารถ (20) 949
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประเสริฐ พงศ์ประพันธ์ (17) 732
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ไพรัช จันทร์อุดม (19) 634
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ธิดารัตน์ คำพินิจ (21) 560
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประสิทธิ์ ศรีนุนวิเชียร (18) 421
พลังสังคมประชาธิปไตย นิจ เพชรสุทธิ์ (23) 397
พลังสังคมประชาธิปไตย พรศรี เพ็งจันทร์ (22) 335
พลังสังคมประชาธิปไตย ปาริก ปานช่วย (24) 278
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ (1)✔ 44,501
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุธรรม แสงประทุม (3) 31,043
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิทยา แก้วภราดัย (2) 29,704
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สัมพันธ์ แป้นพัฒน์ (15)* 26,590
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ณรงค์ นุ่นทอง (13)* 25,048
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ธงชาติ รัตนวิชา (14)* 24,884
สหประชาธิปไตย สิบโท ชัยชนะ ดีเป็นแก้ว (19) 11,412
ประชาธิปัตย์ บำรุง ทองทิพย์ (6) 10,751
ประชาธิปัตย์ ธีรชัย แสนพล (4) 10,676
ชาติไทย เทพปกรณ์ เดชา (10) 9,730
ประชาธิปัตย์ พิพัฒน์ศร เศรษฐพูธ์ (5) 8,684
ชาติไทย ปรีชา ลุยจันทร์ (11) 6,875
กิจสังคม เวียง คงสวัสดิ์ (27) 6,341
พลังสังคมประชาธิปไตย เกษม จันทวิโรจน์ (18) 6,124
ชาติไทย วิเชียร มาลากาญจน์ (12) 5,487
พลังธรรม วัลภา พุ่มมณี (7) 5,170
พลังธรรม ประมูล สัจจวิเศษ (9) 3,972
พลังสังคมประชาธิปไตย อารมณ์ มีชัย (17) 3,326
พลังธรรม เจิม ศรีสุวรรณ (8) 3,244
สหประชาธิปไตย สิบเอก ชูเวทย์ บัวสุวรรณ์ (20) 2,799
กิจสังคม พันตำรวจโท ประโชติ ไกรยูรเสน (25) 2,627
พลังสังคมประชาธิปไตย ก้าน ปานช่วย (16) 2,240
สหประชาธิปไตย จ่าสิบตรี บุญเสริม วิเชียรมณี (21) 2,048
กิจสังคม ประเทศ ไชยพังยาง (26) 1,388
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์ (22) 1,200
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จรินทร์ ดาวัลลิ์ (23) 499
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อนันต์ พรหมอินทร์ (24) 478
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532