บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561
หน้าตา
ด้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561
มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม –
- แกร์ท เบราเออร์ นักฟุตบอลชาวเยอรมัน (เกิด 7 กันยายน พ.ศ. 2498)
- ปีเตอร์ อีวานส์ นักดนตรีชาวอังกฤษ (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472)
- อล์ฟกัง ทร็อย นักถ่ายทำภาพยนตร์ชาวเยอรมัน (เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2473)
- อุมเบร์โต เคอตินโฮ ประธานสภารัฐมารันเยา (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2489)
- 2 มกราคม – เจ้าฟ้าโสริยะวงศ์สว่าง พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนาและพระองค์อภิเษกสมรสกับ เจ้าดาราวรรณ โสริยะวงศ์สว่าง (พระราชสมภพ 22 มกราคม พ.ศ. 2480)
- 3 มกราคม – เซราฟีโน สโปรไวรี อัครมุขนายกโรมันคาทอลิก (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2473)
- 4 มกราคม – สเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์และพรรคเอกภาพ (เกิด 17 มิถุนายน พ.ศ. 2490)[1]
- 6 มกราคม – ไกรสร ตันติพงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่แลพสังกัดพรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาชนและสมาชิกของกลุ่ม 10 มกราและนักเขียนชาวไทย (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2473)
- 8 มกราคม – แฮนส์ โอเปก นักฟุตบอลชาวเดนมาร์ก (เกิด 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491)
- 10 มกราคม – ฟิลิปป์ มาร์แชนด์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยฝรั่งเศส (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2482)
- 12 มกราคม –
- ปีเตอร์ แบตกิน นักขายชาวอังกฤษ (เกิด 11 เมษายน พ.ศ. 2496)
- เบลล่า เอ็มเบิร์ก นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2480)[2]
- 15 มกราคม – โดโลเรส โอริออร์แดน นักร้อง นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวไอริช (เกิด 6 กันยายน พ.ศ. 2514)[3]
- 16 มกราคม – จอร์จ แบนดี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรัฐแอละแบมา (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488)[4]
- 17 มกราคม – ไซมอน เชลตัน นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 13 มกราคม พ.ศ. 2509)[5]
- 20 มกราคม – เนโอมี พาร์กเกอร์ เฟรลีย์ คนงามสงครามและพนักงานเสิร์ฟชาวอเมริกัน (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2464)[6]
- 21 มกราคม –
- ศาสตราจารย์อดุล วิเชียรเจริญ ประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากรและคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2469)[7]
- สุพล เมนาคม นักเขียนชาวไทย (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2502)[8]
- ชาติชาย เชี่ยวน้อย นักมวยชาวไทย (เกิด 10 ตุลาคม พ.ศ. 2485)[9]
- 23 มกราคม – แอนเดอร์ เอเบิร์ก ช่างแกะสลัก จิตรกรและนักเขียนชาวสวีเดน (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2488)
- 24 มกราคม – มาร์ก อี. สมิธ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2500)[10]
- 27 มกราคม – อิงวาร์ คัมปรัด นักธุรกิจชาวสวีเดน (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2469)[11]
- 30 มกราคม – มาร์ค ซอลลิ่ง นักแสดงและนักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 17 สิงหาคม พ.ศ. 2525)[12]
- 31 มกราคม – ศาสตราจารย์เรืองอุไร กุศลาสัย นักเขียน นักแปลและครูชาวไทยและผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียและศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2463)[13]
กุมภาพันธ์
[แก้]- กุมภาพันธ์ – แคโรล โอร์เซิล สตรีชาวอเมริกัน (เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2502)
- 1 กุมภาพันธ์ –
- เอดูอาร์ แฟร็อง สมาชิกพรรคแนวร่วมแห่งชาติฝรั่งเศส (เกิด 25 เมษายน พ.ศ. 2508)
- เดนนิส เอ็ดเวิร์ดส์ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486)[14]
- 2 กุมภาพันธ์ - เยาวลักษณ์ กันนิกา ผู้ประกาศข่าวชาวไทย[15]
- 4 กุมภาพันธ์ - ชัยชาญ หาญนาวี ทหารชาวไทย (เกิด 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474)[16]
- 6 กุมภาพันธ์ - ลิลีนา โบดอค นักเขียนชาวอาร์เจนตินา (เกิด 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2501)
- 11 กุมภาพันธ์ –
- วิจิตร สุพินิจ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ประธานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยามและหัวหน้าเศรษฐกร ฝ่ายวิชาการและหัวหน้าหน่วยการเงินระหว่างประเทศ ฝ่ายวิชาการและผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายการต่างประเทศและรองผู้อำนวยการฝ่ายการต่างประเทศและผู้อำนวยการฝ่ายการธนาคารและผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยและรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (เกิด 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2484)[17]
- พลเอกหาญ ลีนานนท์ แม่ทัพภาคที่ 4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสังกัดพรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาชนและพรรคชาติไทย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2467)[18]
- 12 กุมภาพันธ์ –
- พอล อาร์. อับรามสัน นักรัฐศาสตร์และนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480)
- อับดุล มานัน อิซมาอิล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรัฐปะหัง (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2491)
- 13 กุมภาพันธ์ –
- เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี พระมหากษัตริย์เดนมาร์ก (ประสูติ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477)[19]
- เอ็ดเวิร์ด เอ็ม. อบรอมส์ นักตัดต่อภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวอเมริกัน (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2478)[20]
- 14 กุมภาพันธ์ –
- รืด ลึบเบิร์ส นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ (เกิด 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2482)[21]
- มอร์แกน แชงกิราย นายกรัฐมนตรีซิมบับเว (เกิด 10 มีนาคม พ.ศ. 2495)[22]
- 15 กุมภาพันธ์ –
- ทอม บริวเวอร์ นักเบสบอลชาวอเมริกัน (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2474)
- พระอาจารย์เปลี่ยน ปญฺญาปทีโป พระภิกษุฝ่ายอรัญวาสี วัดอรัญญวิเวกและสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476)[23]
- บีบี บัลลันดี ผู้ผลิตภาพยนตร์ชาวอิตาลี (เกิด 26 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- วัลลภ สุปริยศิลป์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน หัวหน้าพรรคเพื่อธรรมและบิดาของนายณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์และสังกัดพรรคเพื่อไทย (เกิด 3 เมษายน พ.ศ. 2483)[24]
- อับดอน อาลีโนวี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอิตาลี (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466)
- 16 กุมภาพันธ์ - อับดีลาคิม อะเดมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและวิทยาศาสตร์มาซิโดเนีย-แอลบาเนีย (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2512)
- 17 กุมภาพันธ์ –
- ศาสตราจารย์ระพี สาคริก อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ราษฎรอาวุโสและผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป์ (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2465)[25]
- ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม หัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2495)[26]
- 18 กุมภาพันธ์ - ปราโมช รัฐวินิจ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493)[27][28]
- 21 กุมภาพันธ์ - เอ็มมา แชมเบอรส์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2507)[29]
- 25 กุมภาพันธ์ - พลตำรวจเอกสล้าง บุนนาค รองอธิบดีกรมตำรวจ (เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2480)[30]
- 28 กุมภาพันธ์ - อามันด์ ดาเลม ผู้ว่าราชการมณฑลนามูร์ (เกิด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2481)
มีนาคม
[แก้]- 1 มีนาคม - มติ ตั้งพานิช สถาปนิกชาวไทย (เกิด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484)
- 2 มีนาคม
- บิลลี เฮอร์ริงตัน นักแสดงและนายแบบชาวอเมริกัน (เกิด 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2512)
- สนิท กุลเจริญ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรปราการและสังกัดพรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชากรไทย (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2486)
- 4 มีนาคม - ดาวีเด อัสโตรี นักฟุตบอลชาวอิตาลี (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2530)[31]
- 14 มีนาคม -
- จิม โบเวน นักแสดง บุคคลทางโทรทัศน์และพิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวอังกฤษ (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2480)[32]
- สตีเฟน ฮอว์กิง นักฟิสิกส์ นักจักรวาลวิทยาและนักเขียนชาวอังกฤษ (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2485)[33]
- 17 มีนาคม -
- เด็กซ์เตอร์ เดวีส์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติออสเตรเลียตะวันตก (เกิด 10 เมษายน พ.ศ. 2494)
- ฟาน วัน ขาย นายกรัฐมนตรีเวียดนาม (เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2476)[34]
- 21 มีนาคม - อโนเชาว์ ยอดบุตร นักแสดงชาวไทย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2501)[35]
- 22 มีนาคม - เฟอร์กัส อันค์กอร์น ทหารชาวอังกฤษ (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2461)
- 23 มีนาคม
- ลีโน บอร์โตโล เบลอตตี เจ้าอาวาสนิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี (เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2473)
- อัลเบร์โต ออนกาโร นักข่าวและนักเขียนชาวอิตาลี (เกิด 22 สิงหาคม พ.ศ. 2468)
- 26 มีนาคม - เจอร์รี โมเซส นักเบสบอลชาวอเมริกัน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2489)[36]
- 28 มีนาคม - ไมค์ ทัคเกอร์ นักขี่ม้าชาวอังกฤษ (เกิด 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487)[37]
- 29 มีนาคม - คอร์ราโด ดัล ฟับโบร นักบอบสเลดชาวอิตาลี (เกิด 4 สิงหาคม พ.ศ. 2488)
เมษายน
[แก้]- 2 เมษายน - เวลกา วิลีปา นักแสดงชาวลัตเวีย (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483)
- 7 เมษายน -
- ณัฐนิชา เชิดชูบุพการี นักแสดงและนักร้องชาวไทย (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540)
- เพเทอร์ กรืนแบร์ค นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันและผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2550 (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2482)[38]
- 16 เมษายน - พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว) พระภิกษุนิกายมหายาน เจ้าคณะใหญ่คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทยและเจ้าอาวาสวัดกุศลสมาคร (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2471)[39]
- 17 เมษายน -
- ส่องชาติ ชื่นศิริ ศิลปินละครรำนาฏศิลป์ไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครรำ) (เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2461)[40]
- บาร์บารา บุช สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (เกิด 8 มิถุนายน พ.ศ. 2468)[41]
- 18 เมษายน -
- พอล โจนส์ นักมวยและผู้จัดการชาวอเมริกัน (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2485)
- บรูโน ซามมาร์ติโน นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน-อิตาเลียน (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2478)[42]
- 20 เมษายน -
- รอย เบนท์ลีย์ นักฟุตบอลและโค้ชชาวอังกฤษ (เกิด 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2467)[43]
- ทิม แบร์ยลิง (อะวีชี) ดีเจและโปรดิวเซอร์ชาวสวีเดน (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2532)[44]
- 21 เมษายน – เวิร์น ทรอยเออร์ นักแสดงและยูทูบเบอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2512)[45]
- 23 เมษายน -
- แบร์รี วิลเลียมส์ นักฟุตบอลและโค้ชชาวอังกฤษ (เกิด 6 มกราคม พ.ศ. 2482)[46]
- วลาดิมีร์ ไวส์ นักฟุตบอลชาวสโลวาเกีย (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2482)
- 25 เมษายน - คเวโต เพรทนาร์ นักฮ็อกกี้น้ำแข็งชาวสโลวีเนีย (เกิด 27 มกราคม พ.ศ. 2500)
- 28 เมษายน - เกียรติศักดิ์ รามวงษ์ (กบ ชิงร้อย) นักแสดงชาวไทย (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2519)[47]
พฤษภาคม
[แก้]- 1 พฤษภาคม -
- ฆาบิเอร์ แอลเลอร์ นักแสดงชาวสเปน (เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2515)
- จอห์น จาโบ สตาร์ค นักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2480)
- สวลี ผกาพันธุ์ นักร้อง นักแสดงชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474)
- ปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคอนุรักษนิยม (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481)[48]
- อาเทอร์ บาร์นาร์ด นักวิ่งชาวอเมริกัน (เกิด 10 มีนาคม พ.ศ. 2472)
- 4 พฤษภาคม –
- นพดฬ ชาวไร่เงิน นักร้องชาวไทย (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2478)
- แพทริเซีย แลสเซิลส์ เคาน์เตสแห่งฮาร์วุด ธิดาใน ชาลส์ ทักเวลล์ (เกิด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469)[49]
- ฆวน โมราโน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสเปน (เกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2484)
- เค็นเน็ธ เจ. ธอร์เนย์ครอฟต์ เจ้าหน้าที่กองทัพอากาศแคนาดา (เกิด 24 มีนาคม พ.ศ. 2471)
- อเล็กซานเดอร์ เช็พพัท สมาชิกสภาแห่งชาติสวิตเชอร์แลนด์ (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2495)
- 7 พฤษภาคม - ประเวศ ลิมปรังษี นักเขียน สถาปนิกชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2473)
- 9 พฤษภาคม - ดยุกฟรีดริชแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค พระโอรสในคาร์ล ดยุกแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค (ประสูติ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2504)
- 10 พฤษภาคม - ดาวิด กูดดอลล์ นักพฤกษศาสตร์และนักนิเวศวิทยาชาวอังกฤษ-ออสเตรเลีย (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2457)
- 13 พฤษภาคม – จอร์จ สุทรรศน์ นักฟิสิกส์ชาวอินเดีย-อเมริกัน (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2474)
- 14 พฤษภาคม – พิมพา จันทร์ประสงค์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (เกิด 16 สิงหาคม พ.ศ. 2496)
- 15 พฤษภาคม - ดอกดิน กัญญามาลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์) (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2467)
- 16 พฤษภาคม - ฮิเดกิ ไซโจ นักร้องชาวญี่ปุ่น (เกิด 13 เมษายน พ.ศ. 2498)[50]
- 17 พฤษภาคม - เฉลิมยศ แสนวิเศษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร (เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2472)
- 22 พฤษภาคม - ฟิลิป รอธ นักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2476)
- 26 พฤษภาคม - นาเซอร์ มาเล็ก โมเทียร์ นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิหร่าน (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2473)
- 27 พฤษภาคม - อาลี ลุตฟี มะห์มุด นายกรัฐมนตรีอียิปต์ (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2478)[51]
- 28 พฤษภาคม - โอลา อุลล์สเตน นายกรัฐมนตรีสวีเดน (เกิด 23 มิถุนายน พ.ศ. 2474)
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน -
- แอนดี แมสซีย์ วาทยกรชาวอังกฤษ (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2489)[52]
- ซัม มัวร์ นักเผยแพร่ชาวเลบานอน-อเมริกัน (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2472)
- 2 มิถุนายน - อ็องเดร เดอวาก นักแข่งรถชาวฝรั่งเศส (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2487)
- 3 มิถุนายน -
- จอห์นนี่ คียส์ นักแสดงชาวแอฟริกา-อเมริกัน (เกิด 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483)
- โรเบิร์ต ฟอร์แฮน นักฮ็อกกี้น้ำแข็งชาวแคนาดา (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2479)
- 5 มิถุนายน - เคท สเปด นักออกแบบแฟชั่นและผู้ประกอบการชาวอเมริกัน (เกิด 24 ธันวาคม พ.ศ. 2505)[53]
- 8 มิถุนายน - อิบราฮิม เอบีรีกา สมาชิกรัฐสภาเขตอรัวนา (เกิด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2499)[54]
- 14 มิถุนายน -
- เอตโตเร โรโมลี นายกเทศมนตรีโกริเซีย (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2481)
- ซอนย่า สเกอร์ฟิลด์ เจ้าของร่วมทีมฮ็อกกี้ คัลการี เฟลมส์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2471)[55]
- 15 มิถุนายน - เอนอช ซู กุทเทินแบร์ค วาทยากรชาวเยอรมัน (เกิด 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2489)[56]
- 16 มิถุนายน - เกนนาดี โรจเดียซ์เตวนสกี วาทยกรชาวโซเวียต-รัสเซีย (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2474)[57]
- 18 มิถุนายน -
- ธีรศักดิ์ หลงจิ ฆาตกรชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2535)[58]
- เอกซ์เอกซ์เอกซ์เทนเทสซิยอน แร็ปเปอร์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 23 มกราคม พ.ศ. 2541)
- บิ๊ก แวน เวเดอร์ นักมวย นักแสดงและนักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2498)[59]
- 19 มิถุนายน - เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าชายคนุด รัชทายาทแห่งเดนมาร์ก (ประสูติ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2478)[60]
- 20 มิถุนายน - พลอากาศเอกวสิษฐ เดชกุญชร ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472)[61]
- 24 มิถุนายน - ชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (เกิด 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477)[62]
- 25 มิถุนายน - วิราลักษณ์ สุทธิประภา (มะนาว แม็กซิม) นางแบบและเน็ตไอดอลชาวไทย[63]
- 27 มิถุนายน - โจ แจ็กสัน ผู้จัดการชาวอเมริกันและบิดาของราชาเพลงป็อบไมเคิล แจ็กสัน (เกิด 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2471)[64]
- 28 มิถุนายน -
- เดนนิส อากิยามะ นักแสดงชาวญี่ปุ่น-แคนาดา (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2495)[65]
- พระครูพิศาลวิริยคุณ (สิงห์โต ติสฺโส) พระสงฆ์นักพัฒนาที่มีบทบาทสำคัญต่อการส่งเสริมการศึกษา (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2469)
กรกฎาคม
[แก้]- 1 กรกฎาคม -
- คณิน บุญสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2489)[66]
- ปีเตอร์ เฟียร์มิน ศิลปิน และช่างทำหุ่นเชิด และนักวาดภาะประกอบชาวอังกฤษ (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2471)[67]
- 2 กรกฎาคม -
- อลัน ลองมิวร์ นักดนตรีชาวสกอตแลนด์ (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2491)[68]
- อันโตนิโอ ฮาลิลิ อดีตผู้ว่าการเมืองทานวน (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 หรือ 2489)[69]
- 4 กรกฎาคม - บูคารี อัดจิ อดีตนายกรัฐมนตรีไนเจอร์ (เกิด พ.ศ. 2482)
- 5 กรกฎาคม - โคลด ลานซ์มานน์ ผู้สร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศส (เกิด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)[70]
- 6 กรกฎาคม -
- โชโก อาซาฮาระ อดีตผู้นำลัทธิโอมชินริเกียวชาวญี่ปุ่น (เกิด 2 มีนาคม พ.ศ. 2498)[71]
- นาวาตรีสมาน กุนัน อดีตทหารประจำหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ และวีรบุรุษจากภารกิจค้นหาและกู้ภัยที่ถ้ำหลวงจังหวัดเชียงราย (เกิด 23 มกราคม พ.ศ. 2523)[72]
- 7 กรกฎาคม -
- เจ้าชายมิเชลแห่งบูร์บง-ปาร์มา พระโอรสในเจ้าชายเรอเนแห่งบูร์บง-ปาร์มา (ประสูติ 4 มีนาคม พ.ศ. 2469)
- พระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย (เกิด 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2482)[73]
- 8 กรกฎาคม - แท็บ ฮันเตอร์ อดีตนักร้อง และนักแสดง และนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2474)[74]
- 12 กรกฎาคม -
- แนลียู นาฌา นักมวยไทยชาวบราซิล (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 1952)
- หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ พระภิกษุสายพระป่าในประเทศไทย (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2469)[75]
- 17 กรกฎาคม - อีวอนน์ เบลก นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 17 เมษายน พ.ศ. 2483)[76]
- 20 กรกฎาคม -
- อาร์ชดัชเชสมาเรียแห่งออสเตรีย พระธิดาใน คาร์ล เจ้าชายที่ 8 แห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก (ประสูติ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478)[77]
- ศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม นักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470)[78]
- สลักจิตร เทียนหิรัญ อดีตนักมวยชาวไทย (เกิด 26 เมษายน พ.ศ. 2499)[79]
- 28 กรกฎาคม -
- กิเยร์โม เบรเดสตัน นักแสดงชาวอาร์เจนตินา (เกิด 24 สิงหาคม พ.ศ. 2476)
- แม็กซ์ ริตชี นักฟุตบอลชาวออสเตรเลีย (เกิด 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)
- วันนี่ วาน กิลส์ นักฟุตบอลและครูฝึกสอนฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์ (เกิด 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502)
- 29 กรกฎาคม - ไบรอัน คริสโตเฟอร์ อดีตนักมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2515)[80]
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม -
- เทย์เลอร์ วิทลีย์ นักกีฬาชาวอเมริกัน (เกิด 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523)
- แมรี คาร์ลีส นักแสดง และนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457)[81]
- ฮันนี วาน ลีอูเวน อดีตสมาชิกวุฒิสภาเนเธอร์แลนด์ (เกิด 18 มกราคม พ.ศ. 2469)
- จาลีส์ เซอร์วานี นักเขียนบท และนักแต่งเพลงชาวอินเดีย[82]
- 2 สิงหาคม - ซัลวาโตเร เมเลเลโอ อดีตสมาชิกรัฐสภาอิตาลี (เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2472)
- 3 สิงหาคม - สุชน ชามพูนท อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย (เกิด 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2480)[83][84]
- 4 สิงหาคม - ธรรมชาติ ฟาร์เน็ตต์ นักแสดงชาวไทย (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2511)[85]
- 6 สิงหาคม - ณัฐ อินทรปาณ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย (เกิด 6 มีนาคม พ.ศ. 2481)[86]
- 11 สิงหาคม - วี. เอส. ไนพอล อดีตนักเขียนนิยายชาวบริติช-อินเดีย-ตรีนิแดด และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี พ.ศ. 2544 (เกิด 17 สิงหาคม พ.ศ. 2475)[87]
- 12 สิงหาคม - แท้ ประกาศวุฒิสาร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์) (เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2461)[88]
- 13 สิงหาคม - จิม ไนด์ฮาร์ต นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498)[89]
- 16 สิงหาคม -
- อารีทา แฟรงคลิน นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2485)[90]
- อฏัล พิหารี วาชเปยี อดีตนายกรัฐมนตรีอินเดีย (เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2467)[91]
- 18 สิงหาคม
- โคฟี แอนนัน อดีตเลขาธิการสหประชาชาติกานา และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ประจำปี พ.ศ. 2544 (เกิด 8 เมษายน พ.ศ. 2481)[92]
- ศิริมงคล ลูกศิริพัฒน์ นักมวยชาวไทย (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2489)[93]
- 21 สิงหาคม - สตีฟาน คาร์ล สตีฟานสัน นักแสดง และนักร้องชาวไอซ์แลนด์ (เกิด 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2518)[94]
- 26 สิงหาคม -
- จอห์น แมคเคน อดีตสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2479)[95]
- อัลโยชา อับราฮัมยาน นักฟุตบอลชาวอาร์เมเนีย (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2488)
- 28 สิงหาคม - สันติธร หุตาคม (โจ๋ย บางจาก) นักเดินทาง และนักข่าวชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2491)[96]
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - ว่าที่ร้อยตรีอวบ เหมะรัชตะ อดีตสมาชิกวงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ และอดีตผู้ร่วมก่อตั้งวงดนตรีสากล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU BAND) (เกิด 16 สิงหาคม พ.ศ. 2470)
- 2 กันยายน - จีโอวันนี บัตตีสตา อูร์บานี อดีตผู้ว่าการเทศบาลซาโวนา (เกิด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466)
- 3 กันยายน - เอียน แฮมพ์เชียร์ นักฟุตบอลชาวออสเตรเลีย (เกิด 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2491)
- 4 กันยายน - สุชาย ศรีสุรพล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตสังกัดพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน และพรรคเพื่อไทย (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501)[97]
- 5 กันยายน - ศาสตราจารย์ เรืออากาศตรีแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ อดีตสมาชิกวงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ และอดีตสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และนักดนตรีชาวไทย-โปรตุเกส และผู้ก่อตั้งคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2471)[98]
- 6 กันยายน - เบิร์ต เรย์โนลส์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1936)[99]
- 7 กันยายน
- แม็ก มิลเลอร์ แร็ปเปอร์ และนักร้อง และโปรดิวเซอร์เพลง และนักแต่งเพลง และผู้ผลิตแผ่นเสียงชาวอเมริกัน (เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 1992)[100]
- จูลิโอ บลันซ์ นักเขียน และบรรณาธิการชาวอาร์เจนตินา (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2497)
- 8 กันยายน - กันยกร ศุภการค้าเจริญ (เก๋ เลเดอเรอร์) นักธุรกิจ และนางแบบ และคลินิกชาวไทย (เกิด 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531)[101]
- 9 กันยายน - ซิบวีโอ กราสซีตตี นักแข่งกรังด์ปรีซ์มอเตอร์ไซค์เคิลเรซซิงชาวอิตาลี (เกิด 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479)
- 11 กันยายน - วรุฒ วรธรรม อดีตนักแสดง และพิธีกร และนายแบบชาวไทย (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2512)[102]
- 13 กันยายน - หลิน ฮุยเจีย นักการเมืองชาวจีน (เกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2459)[103]
- 14 กันยายน - เบร์นาโด เบโย นักฟุตบอลชาวชิลี (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2476)
- 15 กันยายน -
- คิริน กิกิ นักแสดงชาวญี่ปุ่น (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2486)[104]
- ศาสตราจารย์ชัยอนันต์ สมุทวณิช อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย และอดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสภา และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และอดีตกรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และอดีตอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตที่ปรึษานายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และราชบัณฑิต สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487)[105]
- มงคล อุทก (หว่อง คาราวาน) นักร้อง และนักดนตรี และนักแต่งเพลง และจิตรกรชาวไทย (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2494)[106]
- 21 กันยายน - เจิ่น ดั่ย กวาง อดีตประธานาธิบดีเวียดนาม (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2499)[107]
- 28 กันยายน - บาร์นาบัส ซีบูซีโซ ดลามีนี อดีตนายกรัฐมนตรีเอสวาตีนี (เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2485)[108]
- 30 กันยายน - ศาสตราจารย์โสภณ รัตนากร อดีตประธานศาลฎีกา (เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2474)
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม -
- โด๋ เหมื่อย อดีตเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459)[109]
- ชาลส์ อัซนาวอร์ นักร้อง และนักแต่งเพลง และนักแสดง และนักการทูตชาวฝรั่งเศส-อาร์เมเนีย (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2467)[110]
- 2 ตุลาคม -
- หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล สุขสวัสดิ์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (ประสูติ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2460)
- ญะมาล คอชุกญี อดีตนักข่าว และนักเขียน และผู้จัดการ และบรรณธิการบริหารชาวซาอุดีอาระเบีย (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2501)[111]
- 6 ตุลาคม -
- มุนซาร์รัต กาบัลเย นักร้องชาวสเปน-กาตาลา (เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2476)[112]
- พลเรือเอกยุทธนา ฟักผลงาม อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (เกิด 6 กันยายน พ.ศ. 2496)
- 7 ตุลาคม - พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม (เกิด 6 มีนาคม พ.ศ. 2472)
- 8 ตุลาคม - วิชัย มาลีนนท์ อดีตผู้บุกเบิกและก่อตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (เกิด 16 สิงหาคม พ.ศ. 2462)[113]
- 9 ตุลาคม -
- หม่อมเจ้าเมรี สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2475)
- แลร์รี ลาร์รานากา นักการเมืองชาวอเมริกัน (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2480)
- 10 ตุลาคม - นิวัฒน์ สุรโชติเกรียงไกร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ และการออกแบบกรมทางหลวง
- 15 ตุลาคม - พอล อัลเลน นักธุรกิจ และนักลงทุน และนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และนักการกุศลชาวอเมริกัน (เกิด 21 มกราคม พ.ศ. 2496)[114]
- 17 ตุลาคม - ดิ๊ก สเลเตอร์ นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2494)
- 20 ตุลาคม - วิม โกก อดีตนายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ (เกิด 29 กันยายน พ.ศ. 2481)[115]
- 27 ตุลาคม
- วิชัย ศรีวัฒนประภา อดีตประธานกรรมการกลุ่มบริษัทคิง เพาเวอร์ และอดีตประธานสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2501)[116]
- นุสรา สุขหน้าไม้ อดีตนักแสดงชาวไทย (เกิด 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528)[117]
- ชาติ ภิรมย์กุล นักเขียนชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2500)[118][119][120]
- 28 ตุลาคม -
- หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี พระธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย (ประสูติ 3 กันยายน พ.ศ. 2476)
- รองศาสตราจารย์ประเสริฐ ชิตพงศ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (เกิด 6 กันยายน พ.ศ. 2491)
- 30 ตุลาคม - จา เหลียงยง นักเขียนนิยายกำลังภายในชาวจีน (เกิด 10 มีนาคม พ.ศ. 1924)[121]
- 31 ตุลาคม - หลัน เจี๋ยอิง อดีตนักแสดงชาวฮ่องกง (เกิด 27 เมษายน พ.ศ. 2506)[122]
พฤศจิกายน
[แก้]- 1 พฤศจิกายน - พลเรือเอกเทโอดอร์ ฮ็อฟมัน อดีตผู้บัญชาการกองทัพเรือเยอรมัน (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478)[123]
- 2 พฤศจิกายน – กริสเตียน ดากีโอ นักมวยไทย และนักมวยชาวอิตาลี (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2512)
- 3 พฤศจิกายน - หลวงปู่ลี กุสลธโร พระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย (เกิด 5 กันยายน พ.ศ. 2465)
- 8 พฤศจิกายน – ไสว พัฒโน อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2477)
- 10 พฤศจิกายน –
- สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร (เกิด 29 ธันวาคม พ.ศ. 2460)
- รัฟเฟลี บัลดัสซารี อดีตสมาชิกรัฐสภายุโรป (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2499)
- 11 พฤศจิกายน -
- เปโดร อารันดา ดิแอซ-มูนอซ อดีตหัวหน้าบาทหลวงนิกายโรมันคาทอลิกชาวเม็กซิโก (เกิด 29 มิถุนายน พ.ศ. 2476)
- โอลกา ฆาร์โมนิ อดีตนักเขียนบท และครูการสอนการแสดงชาวเม็กซิโก (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2471)
- 12 พฤศจิกายน
- ทอยโว โทพีส โพจาลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและป่าไม้ฟินแลนด์ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2481)
- สแตน ลี นักเขียนการ์ตูน และบรรณาธิการ และนักแสดง และโปรดิวเซอร์ และผู้จัดพิมพ์ และผู้มีชื่อเสียงทางรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน (เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2465)[124]
- ไอกอร์ ลูเชน็อค คีตกกวีชาวเบลารุส (เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2465)
- 13 พฤศจิกายน - ลูโก กาติก้า นักร้องชาวชิลี (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2471)[125]
- 14 พฤศจิกายน - ชุง เซ-หยวน นักการเมืองท้องถิ่น และนักธุรกิจชาวฮ่องกง (เกิด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460)[126]
- 15 พฤศจิกายน - จอห์น บลูธัล นักแสดง และตลกชาวออสเตรเลีย-โปแลนด์ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2472)[127]
- 16 พฤศจิกายน - รองศาสตราจารย์ ร้อยตำรวจเอกอคิน รพีพัฒน์ โอรสในหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2476)
- 17 พฤศจิกายน – อาจินต์ ปัญจพรรค์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470)
- 20 พฤศจิกายน - ชโลโม เออร์เรล อดีตผู้บัญชาการของกองทัพเรืออิสราเอล (เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 1920)
- 25 พฤศจิกายน – จูเลียนา กาลันดรา นักแสดงชาวอิตาลี (เกิด 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479)
- 26 พฤศจิกายน -
- แบร์นาโด แบร์โตลุชชี ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ และผู้ผลิตภาพยนตร์ชาวอิตาลี (เกิด 16 มีนาคม พ.ศ. 2484)[128]
- สตีเฟน ฮิลเลนเบิร์ก นักวาดภาพแอนิเมชัน และนักพากย์ และครูวิชาชีววิทยาทางทะเลชาวอเมริกัน (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2504)[129]
- 29 พฤศจิกายน – ฮารูเอะ อากางิ นักแสดงชาวญี่ปุ่น (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2467)
- 30 พฤศจิกายน – จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (เกิด 12 มิถุนายน พ.ศ. 2467)[130]
ธันวาคม
[แก้]- 1 ธันวาคม -
- เอ็นนิโอ ฟานตัสติชินี นักแสดงชาวอิตาลี (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498)
- เคน เบอร์รี่ นักแสดง และตลก และนักเต้น และนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476)[131]
- 3 ธันวาคม - รองศาสตราจารย์ชัยชนะ อิงคะวัต อดีตอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง[132]
- 4 ธันวาคม - พิศาล อัครเศรณี อดีตนักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2488)
- 10 ธันวาคม - พิพัฒน์ ผึ้งทรัพย์ (ไข่มุก ซุปตาร์) ศิลปินตลกสาวประเภทสอง (เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2518)
- 12 ธันวาคม -
- สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ อดีตแกนนำกลุ่มแดง (เกิด 24 ตุลาคม พ.ศ. 2485)
- แฟแร็นตส์ โกชอ นักการเมือง และนักเขียน และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮังการี (เกิด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480)[133]
- 15 ธันวาคม - กิร์มา โวลเด-กิยอร์กิส อดีตประธานาธิบดีเอธิโอเปีย (เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2467)
- 18 ธันวาคม - เดวิด ซี. เอช. ออสติน นักผสมพันธุ์กุหลาบ และนักเขียนชาวอังกฤษ (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469)[134]
- 22 ธันวาคม -
- ร้อยตรีไพโรจน์ รัตตกุล อดีตผู้ก่อตั้งและกรรมการผู้จัดการบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) (เกิด 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476)
- แพดดี แอชดาวน์ อดีตผู้นำพรรคเสรีนิยมเดโมแครต (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484)[135]
- 24 ธันวาคม -
- อุดม ทรงแสง (อุดม ชวนชื่น) นักแสดงตลก และลิเก และนักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวไทย (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2478)
- อินสอน บัวเขียว อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ (เกิด พ.ศ. 2492)
- 26 ธันวาคม - แครีม โมอ์แทแมดี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงไปรษณีย์โทรเลขและโทรคมนาคมอิหร่าน (เกิด 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2471)
- 28 ธันวาคม -
- ปีเตอร์ ฮิล-วูด นักธุรกิจชาวอังกฤษ (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479)[136]
- โทชิโกะ ฟูจิตะ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2493)
- เอมอส ออซ นักข่าว และนักเขียนชาวอิสราเอล (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2482)[137]
- 29 ธันวาคม -
- โยชัว แกลเซอร์ นักฟุตบอลชาวอิสราเอล (เกิด 29 ธันวาคม พ.ศ. 2470)
- ริงโก้ แลม ผู้กำกับภาพยนตร์ และโปรดิวเซอร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ และนักเขียนบท และผู้ผลิตภาพยนตร์ชาวฮ่องกง (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2498)[138]
- จูน วิทฟิลด์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)[139]
- 30 ธันวาคม - ดอน ลัสก์ นักเคลื่อนไหว และแอนิเมเตอร์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2456)[140]
ไม่ทราบวัน
[แก้]- อับดุล มาญิด อับดุล บารี นักการเมืองชาวมัลดีฟส์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ดาวสภาดับ! สุดเศร้า "ครูบรณ์" อดีต สส.จ.กระบี่ เสียชีวิตแล้ว หลังล้มป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง ญาตินำศพกลับไปฝังในที่เมืองคอน". tnews. 2018-01-04. สืบค้นเมื่อ 2018-01-04.
- ↑ "Bella Emberg: Tributes as 'huge comedy talent' dies". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 12 January 2018. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
- ↑ "Dolores O'Riordan, Lead Singer of the Cranberries, Dies at 46". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 15 January 2018. สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
- ↑ "State legislator George Bandy dies". AP News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 16 January 2018. สืบค้นเมื่อ 16 January 2018.
- ↑ "Teletubbies' Tinky Winky actor Simon Shelton dies aged 52". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 17 January 2018. สืบค้นเมื่อ 17 January 2018.
- ↑ "The 'real' Rosie the Riveter dies at 96". CNN (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 20 January 2018. สืบค้นเมื่อ 20 January 2018.
- ↑ "ขอแสดงความเสียใจต่อครอบครัววิเชียรเจริญที่สูญเสียบิดา". คมชัดลึก. 2018-01-21. สืบค้นเมื่อ 2018-01-21.
- ↑ ""ต้อม ขายหัวเราะ" นักวาดการ์ตูนดัง เสียชีวิตด้วยโรคประจำตัว ในวัย 59 ปี". pptvhd36. 2018-01-21. สืบค้นเมื่อ 2018-01-21.
- ↑ "ปิดตำนานแชมป์โลกคนที่ 2 ของไทย "ชาติชาย เกี่ยวน้อย" สิ้นลมวัย 76". ไทยโพสต์. 2018-01-21. สืบค้นเมื่อ 2018-01-21.
- ↑ "Mark E. Smith, founder and lead singer of the Fall, dies at 60". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 24 January 2018. สืบค้นเมื่อ 24 January 2018.
- ↑ "lngvar Kamprad, founder of lkea, dies at 91". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 27 January 2018. สืบค้นเมื่อ 27 January 2018.
- ↑ "'Glee' star Mark Salling dies at 35". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 30 January 2018. สืบค้นเมื่อ 30 January 2018.
- ↑ "สิ้นศิลปินแห่งชาติ 'เรืองอุไร กุศลาสัย' กวีนักเขียนชื่อดัง สิริอายุ 97 ปี". ข่าวสด. 2018-01-31. สืบค้นเมื่อ 2018-01-31.
- ↑ "Dennis Edwards, Grammy-winning former member of the Temptations, dies at 74". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). 1 February 2018. สืบค้นเมื่อ 1 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "โลกออนไลน์แห่ไว้อาลัย เวย์-เยาวลักษณ์ ผู้ประกาศ NBT เสียชีวิตหลังสู้มะเร็ง 2 ปี". มติชนออนไลน์. 2018-02-02. สืบค้นเมื่อ 2018-02-02.
- ↑ "Hero POW Chaicharn dies at 87". bangkokpost. 2018-02-04. สืบค้นเมื่อ 2018-02-04.
- ↑ "'พิจิตร สุพินิจ' อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2018-02-11. สืบค้นเมื่อ 2018-02-11.
- ↑ "สิ้น 'พลเอกหาญ ลีนานนท์' อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 - หนึ่งในผู้ร่วมร่างคำสั่ง 66/2523". มติชนออนไลน์. 2018-02-11. สืบค้นเมื่อ 2018-02-11.
- ↑ "Denmark's Prince Henrik, who wanted to be king, dies at 83". BBC News (ภาษาอังกฤษ). 13 February 2018. สืบค้นเมื่อ 13 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Edward Abroms, Steven Spielberg's First Film Editor, Dies at 82". The Hollywood Reporter (ภาษาอังกฤษ). 13 February 2018. สืบค้นเมื่อ 13 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Longest-serving Dutch PM, Ruud Lubbers, dies aged 78". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 14 February 2018. สืบค้นเมื่อ 14 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Zimbabwe's Morgan Tsvangirai, longtime Mugabe foe, dies at age 65". CNN (ภาษาอังกฤษ). 14 February 2018. สืบค้นเมื่อ 14 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สิ้นพระเกจิดัง! 'หลวงปู่เปลี่ยน' พระนักปฏิบัติ สิริอายุ 85 ปี 59 พรรษา ศิษยานุศิษย์ร่ำไห้ระงม". ข่าวสด. 2018-02-15. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
- ↑ "สุดเศร้า! มะเร็งคร่า "วัลลภ สุปริยศิลป์" อดีต ส.ส.น่าน 8 สมัย". มติชนออนไลน์. 2018-02-15. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
- ↑ "ศาสตราจารย์ระพี สาคริก บิดาแห่งกล้วยไม้ เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2018-02-17. สืบค้นเมื่อ 2018-02-17.
- ↑ ""ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง" อดีต ส.ส.มหาสารคาม เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2018-02-17. สืบค้นเมื่อ 2018-02-17.
- ↑ "มะเร็งคร่าชีวิต 'ปราโมช รัฐวินิจ' อดีตอธิบดี กปปส.ในวัย 65 ปี". mgronline. 2018-02-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-19. สืบค้นเมื่อ 2018-02-18.
- ↑ "อาลัย 'ปราโมช รัฐวินิจ' อดีตอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เสียชีวิต". เดลินิวส์. 2018-02-18. สืบค้นเมื่อ 2018-02-18.
- ↑ "Emma Chambers, 'Notting Hill' actress, dies at 53". CNN (ภาษาอังกฤษ). 21 February 2018. สืบค้นเมื่อ 21 February 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "ด่วน! พลตำรวจเอกสล้าง บุนนาค ดิ่งจากชั้น 7 ห้างดัง เสียชีวิต". มติชนออนไลน์. 2018-02-25. สืบค้นเมื่อ 2018-02-25.
- ↑ "Davide Astori: Fiorentina captain and ltaly international dies at the age of 31". BBC Sport (ภาษาอังกฤษ). 4 March 2018. สืบค้นเมื่อ 4 March 2018.
- ↑ "Jim Bowen, Bullseye host and comedian, dies aged 80". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). 14 March 2018. สืบค้นเมื่อ 14 March 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Stephen Hawking, science's brightest star, dies aged 76". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). 14 March 2018. สืบค้นเมื่อ 14 March 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Vietnam's former prime minister Phan Van Khai dies at 84". South China Morning Post (ภาษาเวียดนาม). 17 March 2018. สืบค้นเมื่อ 17 March 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สุดเศร้า "อโนเชาว์ ยอดบุตร" เสียชีวิตแล้ว". pptvhd36. 2018-03-21. สืบค้นเมื่อ 2018-03-21.
- ↑ "Former Red Sox All-Star Moses dies at 71". MLB. 26 March 2018. สืบค้นเมื่อ 26 March 2018.
- ↑ "Mike Tucker: BBC equestrian commentator dies, aged 73". BBC Sport (ภาษาอังกฤษ). 28 March 2018. สืบค้นเมื่อ 28 March 2018.
- ↑ "Peter Gruenberg, Nobel-winning scientist who advanced computer technology, dies at 78". Washington Post. 7 April 2018. สืบค้นเมื่อ 7 April 2018.
- ↑ "สิ้นเจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย". สำนักข่าวไทย. 2018-04-16. สืบค้นเมื่อ 2018-04-16.
- ↑ "สิ้นแล้ว 'ครูส่องชาติ' ศิลปินแห่งชาติ วงนาฏศิลป์อาลัยล้น จากไปในวัย 100 ปี". มติชนออนไลน์. 2018-04-17. สืบค้นเมื่อ 2018-04-17.
- ↑ "Former US First Lady Barbara Bush dies at 92". BBC News. 17 April 2018. สืบค้นเมื่อ 17 April 2018.
- ↑ "Wrestling legend Bruno Sammartino dies at age 82". BBC News. 18 April 2018. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
- ↑ "Roy Bentley: Last surviving member of England's 1950 World Cup squad dies aged 93". BBC Sport. 20 April 2018. สืบค้นเมื่อ 20 April 2018.
- ↑ "Avicii, Electronic Dance Music Producer and D.J., ls Dead at 28". The New York Times. 20 April 2018. สืบค้นเมื่อ 20 April 2018.
- ↑ "Verne Troyer, 'Mini-Me' in Austin Powers films, dies at 49". CNN. 21 April 2018. สืบค้นเมื่อ 21 April 2018.
- ↑ "Barrie Williams: Former Sutton United manager dies in Spain". BBC Sport. 23 April 2018. สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
- ↑ "วงการตลกเศร้า 'กบ ชิงร้อย' เสียชีวิต". ไทยโพสต์. 2018-04-28. สืบค้นเมื่อ 2018-04-28.
- ↑ "Former MP Peter Temple-Morris dies aged 80" (ภาษาอังกฤษ). BBC News. 1 May 2018. สืบค้นเมื่อ 1 May 2018.
- ↑ "Dowager Countess of Harewood Patricia Lascelles dies" (ภาษาอังกฤษ). BBC News. 4 May 2018. สืบค้นเมื่อ 4 May 2018.
- ↑ "Japanese singer Hideki Saijo, known for cover song of 'Y.M.C.A.,' dies at 63". Japan Times (ภาษาอังกฤษ). 16 May 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-20. สืบค้นเมื่อ 16 May 2018.
- ↑ "Mubarak-era premier Ali Lotfy dies at 82". Gulf News (ภาษาอังกฤษ). 27 May 2018. สืบค้นเมื่อ 27 May 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Andrew Massey (1946-2018)". The Blade. 1 June 2018. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.
- ↑ "Kate Spade: Fashion designer found dead in New York home". BBC News (ภาษาอังกฤษ). 5 June 2018. สืบค้นเมื่อ 5 June 2018.
- ↑ "Uganda's president, police vow crackdown after killing of Mp". Reuters. 8 June 2018. สืบค้นเมื่อ 8 June 2018.
- ↑ "Ex-Flames owner Scurfield dies at age 89". Reuters. 14 June 2018. สืบค้นเมื่อ 14 June 2018.
- ↑ "German conductor Enoch zu Guttenberg dies, age 71". DW. 15 June 2018. สืบค้นเมื่อ 15 June 2018.
- ↑ "Gennady Rozhdestvensky, a Leading Russian Conductor, Dies at 87". The New York Times. 16 June 2018. สืบค้นเมื่อ 16 June 2018.
- ↑ "Thailand executes first prisoner by lethal injection since 2009". Reuters. 18 June 2018. สืบค้นเมื่อ 18 June 2018.
- ↑ "Former WWE wrestler star Vader dies at 63". BBC News. 18 June 2018. สืบค้นเมื่อ 18 June 2018.
- ↑ "Her Highness Princess Elisabeth passed away quietly on Tuesday the 19th June 2018". 19 June 2018. สืบค้นเมื่อ 19 June 2018.
- ↑ "ด่วน! 'พลอากาศเอกวสิษฐ เดชกุญชร' เสียชีวิตแล้ว ด้วยวัย 88 ปี". ข่าวสด. 2018-06-20. สืบค้นเมื่อ 2018-06-20.
- ↑ ""เจ้าสัวชาตรี โสภณพนิช" ประธานบอร์ดธนาคารกรุงเทพ เสียชีวิตอย่างสงบในวัย 80 ปี". sanook. 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2018-06-24.
- ↑ ""มะนาว แม็กซิม" เสียชีวิตแล้ว หลังทรุดหนักจากอาการมะเร็งปากมดลูก". mgronline. 2018-06-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-25. สืบค้นเมื่อ 2018-06-25.
- ↑ "Joe Jackson, Jackson Family Patriarch, Dies at 89". Variety. 27 June 2018. สืบค้นเมื่อ 27 June 2018.
- ↑ "Denis Akiyama Dies: 'Pixels' Actor And Veteran Voice Artist Was 66". Deadline. 28 June 2018. สืบค้นเมื่อ 28 June 2018.
- ↑ "'คณิน บุญสุวรรณ' อดีตส.ส.ร.40 เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2018-07-01. สืบค้นเมื่อ 2018-07-01.
- ↑ "Peter Firmin, artist behind 'Bagpuss,' other UK shows, dies" (ภาษาอังกฤษ). USA Today. 1 July 2018. สืบค้นเมื่อ 1 July 2018.
- ↑ "Bay City Roller Alan Longmuir dies in Scotland at age 70" (ภาษาอังกฤษ). USA Today. 2 July 2018. สืบค้นเมื่อ 2 July 2018.
- ↑ "Philippine Mayor Antonio Halili assassinated during ceremony". aljazeera. 2 July 2018. สืบค้นเมื่อ 2 July 2018.
- ↑ "Shoah director Claude Lanzmann dies aged 92". The Guardian. 5 July 2018. สืบค้นเมื่อ 5 July 2018.
- ↑ "Tokyo Sarin attack: Aum Shinrikyo cult leaders executed". BBC News. 6 July 2018. สืบค้นเมื่อ 6 July 2018.
- ↑ "Thailand cave rescue: Ex-navy diver dies on oxygen supply mission". BBC News. 6 July 2018. สืบค้นเมื่อ 6 July 2018.
- ↑ "สิ้นแล้ว! พระเทพสิทธินายก เจ้าคณะ จังหวัดเชียงราย ด้วยโรคชรา สิริอายุ 79 ปี". ไทยรัฐออนไลน์. 2018-07-07. สืบค้นเมื่อ 2018-07-07.
- ↑ "Tab Hunter, iconic 1950s acfor, dead at 86". CNN. 8 July 2018. สืบค้นเมื่อ 8 July 2018.
- ↑ "หลวงปู่บุญมี วัดป่าศิลาพร ศิษย์อาวุโสหลวงตาบัว ละสังขาร อายุ 91 ปี". ไทยรัฐออนไลน์. 2018-07-12. สืบค้นเมื่อ 2018-07-12.
- ↑ "Yvonne Blake Dies: 'Superman' & 'Jesus Christ Superstar' Costume Designer Was 78". Deadline. 17 July 2018. สืบค้นเมื่อ 17 July 2018.
- ↑ "Archduchess Maria of Austria has died". 20 July 2018.
- ↑ "สิ้นแล้ว! "ธรรมโฆษ" ศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม วัย 91 ปี". banmuang. 2018-07-20. สืบค้นเมื่อ 2018-07-20.
- ↑ "สลด! อดีตยอดมวยดัง 'สลักจิตร เทียนหิรัญ' ถูกกระแสน้ำซัดจมหาย". ไทยโพสต์. 2018-07-20. สืบค้นเมื่อ 2018-07-20.
- ↑ "Brian Christopher Lawler, former WWE star, dead at 46". CBS News. 29 July 2018. สืบค้นเมื่อ 29 July 2018.
- ↑ "Mary Carlisle, a perpetual ingenue in dozens of 1930s films, dies at 104". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). 1 August 2018. สืบค้นเมื่อ 1 August 2018.
- ↑ "Veteran screenplay writer Jalees Sherwani dies at 70". Hindustan Times (ภาษาเยอรมัน). 1 August 2018. สืบค้นเมื่อ 1 August 2018.
- ↑ "มะเร็งคร่า 'สุชน ชามพูนท' อดีต ส.ส.พิษณุโลก 14 สมัย". มติชนออนไลน์. 2018-08-01. สืบค้นเมื่อ 2018-08-01.
- ↑ "มะเร็งตับอ่อนคร่า 'สุชน ชามพูนท' อดีต รมต.-ส.ส. 14 สมัย". ไทยรัฐออนไลน์. 2018-08-01. สืบค้นเมื่อ 2018-08-01.
- ↑ ""จีนส์ ธรรมชาติ ฟาร์เน็ตต์" นักแสดงรุ่นใหญ่เสียชีวิตแล้ว คุ้นตาในบทท่านเจ้าคุณ คือหัตถาครองพิภพ". sanook. 2018-08-04. สืบค้นเมื่อ 2018-08-04.
- ↑ "วงการกีฬาเศร้า! 'ณัฐ อินทรปาณ' เสียชีวิตแล้วด้วยวัย 81 ปี". มติชนออนไลน์. 2018-08-06. สืบค้นเมื่อ 2018-08-06.
- ↑ "V.S. Naipaul, Nobel winner who offered 'a topography of the void,' dies at 85". Washington Post. 11 August 2018. สืบค้นเมื่อ 11 August 2018.
- ↑ "สิ้น 'แท้ ประกาศวุฒิสาร' ผู้สร้าง 'สาวเครือฟ้า' วงการหนังไทยสูญเสียครั้งใหญ่". มติชนออนไลน์. 2018-08-12. สืบค้นเมื่อ 2018-08-12.
- ↑ "Jim 'The Anvil' Neidhart of wrestling's Hart Foundation dies at age 63". Washington Post. 13 August 2018. สืบค้นเมื่อ 13 August 2018.
- ↑ "Aretha Franklin, 'Queen of Soul,' dies aged 76". BBC News. 16 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.
- ↑ "Atal Behari: Vajpayee: Former lndia PM dies at 93". BBC News. 16 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.
- ↑ "Kofi Annan, former UN Secretary-General, dead at age 80". CNN. 18 August 2018. สืบค้นเมื่อ 18 August 2018.
- ↑ "'ศิริมงคล' อดีตมวยไทยชื่อดังเมืองแปดริ้วเสียชีวิตแล้ว". mgronline. 2018-08-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-11. สืบค้นเมื่อ 2018-08-18.
- ↑ "Stefan Karl Stefansson, 'LazyTown's' Robbie Rotten, dies at 43". CNN. 21 August 2018. สืบค้นเมื่อ 21 August 2018.
- ↑ "US Senator John McCain dies at the age of 81". aljazeera. 26 August 2018. สืบค้นเมื่อ 26 August 2018.
- ↑ "สิ้น 'โจ๋ย บางจาก' นักเดินทาง 'ส่องโลก' ชื่อดัง". มติชนออนไลน์. 2018-08-26. สืบค้นเมื่อ 2018-08-26.
- ↑ "มะเร็งปอดคร่า 'สุชาย ศรีสุรพล' อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น เพื่อไทย". มติชนออนไลน์. 2018-09-04. สืบค้นเมื่อ 2018-09-04.
- ↑ "สิ้นแล้ว! ศิลปินแห่งชาติ 'แมนรัตน์ ศรีกรานนท์'". bangkokbiznews. 2018-09-05. สืบค้นเมื่อ 2018-09-05.
- ↑ "Burt Reynolds, 'Smokey and the Bandit' star, dead at 82". CNN. 6 September 2018. สืบค้นเมื่อ 6 September 2018.
- ↑ "Mac Miller: US rapper 'found dead at home' aged 26". BBC News. 7 September 2018. สืบค้นเมื่อ 7 September 2018.
- ↑ "สุดช็อก! 'เก๋ เลเดอเรอร์' ซดยา-โดดตึก ฆ่าตัวตาย". bangkokbiznews. 2018-09-08. สืบค้นเมื่อ 2018-09-08.
- ↑ "คนบันเทิงร่วมอาลัยการจากไป "โอ วรุฒ"". pptvhd 36. 2018-09-11. สืบค้นเมื่อ 2018-09-11.
- ↑ "Lin Hujia, a member of the Central Advisory Committee, passed away and was the secreta ry of the Beijing, Shanghai and Tianjin Municipal Party Committee". Sina (ภาษาจีน). 13 September 2018. สืบค้นเมื่อ 13 September 2018.
- ↑ "Veteran actress Kirin Kiki dies at age 75". Japan Times (ภาษาญี่ปุ่น). 15 September 2018. สืบค้นเมื่อ 15 September 2018.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "ศาสตราจารย์ชัยอนันต์ สมุทวณิช อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถึงแก่กรรมอย่างสงบแล้ว". มติชนออนไลน์. 2018-09-15. สืบค้นเมื่อ 2018-09-15.
- ↑ "อาลัย 'หว่อง มงคล อุทก' เสียชีวิต". bangkokbiznews. 2018-09-15. สืบค้นเมื่อ 2018-09-15.
- ↑ "Vietnam President Tran Dai Quang dies after 'serious illness'". aljazeera (ภาษาเวียดนาม). 21 September 2018. สืบค้นเมื่อ 21 September 2018.
- ↑ "Prime Minister Dlamini of eswatini dies". France 24. 28 September 2018. สืบค้นเมื่อ 28 September 2018.
- ↑ Mydans, Seth (1 October 2018). "Do Muoi, Vietnam's Leader in Economic Transition, Dies at 101". The New York Times (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 1 October 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "French singer and actor Charles Aznavour dies at age 94". USA Today (ภาษาอังกฤษ). 1 October 2018. สืบค้นเมื่อ 1 October 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Black, lan (2 October 2018). "Jamal Khashoggi obituary". The Guardian. ISSN 0261-3077. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2018. สืบค้นเมื่อ 2 October 2018.
- ↑ "Spanish opera diva Montserrat Caballé dies at 85". CNN. 6 October 2018. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.
- ↑ "ด่วน! สิ้น'วิชัย มาลีนนท์' ผู้บุกเบิก-ก่อตั้งทีวีช่อง 3". มติชนออนไลน์. 2018-10-08. สืบค้นเมื่อ 2018-10-08.
- ↑ "Paul Allen, co-founder of Microsoft, is dead at 65". CNN. 2018-10-15. สืบค้นเมื่อ 2018-10-15.
- ↑ "Former Dutch prime minister, Win Kok, dies at 80". Reuters. 20 October 2018. สืบค้นเมื่อ 20 October 2018.
- ↑ "Vichai Srivaddhanaprabha, Leicester City owner and retail magnate, dies at 60". CNN. 27 October 2018. สืบค้นเมื่อ 27 October 2018.
- ↑ ""จุ๋ม-นุสรา สุขหน้าไม้" อดีตนางงาม เป็น 2 ในผู้เสียชีวิตจากเหตุ ฮ.ตก คนแห่อาลัย". sanook. 2018-10-27. สืบค้นเมื่อ 2018-10-27.
- ↑ "เปิดประวัติไว้อาลัย 'ชาติ ภิรมย์กุล' นักเขียนอารมณ์ดีแห่งยุค". www.thairath.co.th. 2018-10-28.
- ↑ "สิ้นนักเขียนดัง 'ชาติ ภิรมย์กุล' หลังสู้มะเร็งนับปี แฟนหนังสือร่วมอาลัยล้น". มติชนออนไลน์. 2018-10-28.
- ↑ "ชาติ ภิรมย์กุล - นาย อินทร์". www.naiin.com. 2022-12-03.
- ↑ Foong, Woei Wan (30 October 2018). "Tributes pour in for Chinese literary giant Louis Cha 'Jin Yong' ,The 'greatest epic writer of our time who embodied the martial arts spirit'". South China Morning Post. สืบค้นเมื่อ 30 October 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Leung, Rachel (31 October 2018). "Former TVB actress Yammie Lam, 55, found dead in Hong Kong flat". South China Morning Post. สืบค้นเมื่อ 31 October 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "DDR-Politiker tot Ex-Minister Hoffmann (83) stirbt in Klinik". TAG24 (ภาษาเยอรมัน). 1 November 2018. สืบค้นเมื่อ 1 November 2018.
- ↑ "Stan Lee, Marvel Comics visionary, dead at 95". CNN (ภาษาอังกฤษ). 12 November 2018. สืบค้นเมื่อ 12 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Lucho Gatica, 'the King of Bolero,' ls Dead at 90". The New York Times (ภาษาอังกฤษ). 13 November 2018. สืบค้นเมื่อ 13 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Former Hong Kong Executive Council convenor Chung Sze-yuen, 'godfather of local politics' ,dies aged 101". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 14 November 2018. สืบค้นเมื่อ 14 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Vicar of Dibley's John Bluthal dies, aged 89". BBC News (ภาษาอังกฤษ). 15 November 2018. สืบค้นเมื่อ 15 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Bernardo Bertolucci of 'Last Tango' fame, dies in Rome". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 26 November 2018. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Stephen Hillenburg, creator of 'SpongeBob SquarePants,' has died". CNN (ภาษาอังกฤษ). 26 November 2018. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Former US President George HW Bush dead at 94". Al Jazeera (ภาษาอังกฤษ). 30 November 2018. สืบค้นเมื่อ 30 November 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Ken Berry, TV sitcom actor, dies at 85". CNN (ภาษาอังกฤษ). 1 December 2018. สืบค้นเมื่อ 1 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ ""รองศาสตราจารย์ชัยชนะ อิงคะวัต" ถึงแก่กรรมแล้ว". Mgronline. 2018-12-03. สืบค้นเมื่อ 2018-12-03.
- ↑ "Hungarian director Ferenc Kosa, winner in Cannes, dies at 81". KSL (ภาษาอังกฤษ). 12 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "David Austin, Who Breathed Life lnto the Rose, ls Dead at 92". The New York Times (ภาษาอังกฤษ). 18 December 2018. สืบค้นเมื่อ 18 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Paddy Ashdown, leader of Britain's Liberal Democrat party, dies at 77". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). 22 December 2018. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Peter Hill-Wood: Arsenal's former chairman has died at the age of 82". BBC Sport (ภาษาอังกฤษ). 28 December 2018. สืบค้นเมื่อ 28 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Amos Oz, revered lsraeli author and advocate of Middle East peace through 'painful compromise', dies of cancer at 79". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 28 December 2018. สืบค้นเมื่อ 28 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Hong Kong filmmaker Ringo Lam Ling-tung, director of 1987's City on Fire, found dead at 63". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 29 December 2018. สืบค้นเมื่อ 29 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Dame June Whitfield, star of Absolutely Fabulous, dies aged 93". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). 28 December 2018. สืบค้นเมื่อ 28 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Don Lusk, Animator on 'Pinocchio, 'Fantasia' and Charlie Brown Specials, Dies at 105". The Hollywood Reporter (ภาษาอังกฤษ). 30 December 2018. สืบค้นเมื่อ 30 December 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)