ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดลำพูน"

พิกัด: 18°30′N 99°05′E / 18.5°N 99.08°E / 18.5; 99.08
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 194: บรรทัด 194:
{{ดูเพิ่มที่|รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดลำพูน}}
{{ดูเพิ่มที่|รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดลำพูน}}


สิริเพ็ญตาย
== สถานที่สำคัญของจังหวัด ==
{{บน}}
* [[วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร]] (พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิด วรมหาวิหาร)
* [[วัดพระพุทธบาทตากผ้า]] (พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญ)
* [[พระบรมราชานุสาวรีย์]][[พระนางจามเทวี]]
* [[วัดจามเทวี]]
* [[วัดพระธาตุดอยเวียง]]
* [[วัดประตูลี้]]
* [[วัดมหาวัน]]
* [[วัดพระคงฤๅษี]]
* [[วัดพระยืน]]
* [[วัดธงสัจจะ]]
* [[วัดสันป่ายางหลวง]]
{{กลาง}}
* [[วัดสันป่ายางหน่อม]]
* [[วัดช้างรอง]]
* [[วัดช้างสี]]
* [[วัดไก่แก้ว]]
* [[กู่ช้าง - กู่ม้า]]
* [[วัดเจดีย์กู่เต้าจุฬามณี]]
* [[วัดต้นแก้ว]]
* [[วัดรมณียาราม]]
* [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย]]
* [[วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม]]
* [[ดอยขะม้อ]]
* [[สะพานขาวทาชมภู]]
* [[วัดดอยติ อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย องค์ในที่สุดในลำพูน]]
* [[อุโมงค์รถไฟดอยขุนตาล]] เป็นอุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย
* [[อนุสาวรีย์สุเทวฤๅษี]]
* [[The Sun New Center]]สวนน้ำและสวนสนุก
* [[ถนนคนเดินจังหวัดลำพูน]]หน้าวัดพระธาตุหริภุญชัย ทุกวันศุกร์
* [[ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงพระบาทห้วยต้ม]]
* [[น้ำตกก้อ]] อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
* [[สวนสายน้ำแร่]]สถานที่นี้ท่านสามารถอาบน้ำแร่จากธรรมชาติได้อย่างสะดวกสบาย เป็นสถานที่พักผ่อน และมีอาหารพื้นเมืองที่เอร็ดอร่อยให้บริการด้วย
* [[หมู่บ้านแกะสลักบ้านทา]]
* [[แก่งก้อ]] ที่ตั้ง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
* [[หมู้บ้านกะเหรี่ยงพัฒนาห้วยหละ]]
* [[ถ้ำเอราวัณ]]
* [[ถ้ำหลวงผาเวียง]]
* [[ขัวมุงท่าสิงห์ และชุมชนเวียงยอง]]
* [[ดอยช้างป๋าแป่]] เป็นยอดดอยที่สุดที่ในจังหวัดลำพูน
* [[ศาลเจ้าพ่อขุนตาล]]
* [[ตลาดหนองดอก]]
* [[ตลาดเกษตรดอยแก้ว(กาดป่าเปา)]]
* [[อ่างเก็บน้ำแม่ตีบ]]
{{ล่าง}}


== อุทยานแห่งชาติ ==
== อุทยานแห่งชาติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:34, 22 สิงหาคม 2559

จังหวัดลำพูน
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันChangwat Lamphun
คำขวัญ: 
พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำไยดัง กระเทียมดี
ประเพณีงาม จามเทวีศรีหริภุญไชย
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดลำพูนเน้นสีแดงประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดลำพูนเน้นสีแดง
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดลำพูนเน้นสีแดง
ประเทศ ไทย
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการ นายณรงค์ อ่อนสอาด
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2557)
พื้นที่
 • ทั้งหมด4,505.882 ตร.กม.[1] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 48
ประชากร
 (พ.ศ. 2557)
 • ทั้งหมด405,468 คน[2] คน
 • อันดับอันดับที่ 63
 • อันดับความหนาแน่นอันดับที่ 52
รหัส ISO 3166TH-51
ชื่อไทยอื่น ๆนครหริภุญชัย
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
 • ต้นไม้จามจุรี
 • ดอกไม้ทองกวาว
ศาลากลางจังหวัด
 • โทรศัพท์0 5351 1000
เว็บไซต์http://www.lamphun.go.th/
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดลำพูน (ไทยถิ่นเหนือ: ) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา

ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้าย คือ พลตรี เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ถึงแก่พิราลัย เมืองลำพูนจึงเปลี่ยนเป็นจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครอง สืบมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน นอกจากจังหวัดลำพูนจะมีชื่อเสียงในฐานะเป็นเมืองประวัติศาสตร์แล้ว ยังเป็นแหล่งเพาะปลูกลำไย พระเครื่อง โบราณสถานที่สำคัญ และผ้าทอฝีมือดี ปัจจุบันมีประตูเมืองหลักทั้งสี่ทิศคือ ทิศเหนือประตูช้างสี ทิศตะวันออกประตูท่าขาม ทิศใต้ประตูลี้ ทิศตะวันตกประตูมหาวัน มีกำแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือคือ ประตูท่านาง

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

อาณาเขต

ลำพูนมีพื้นที่ติดกับจังหวัดอื่น ๆ 3 จังหวัด ดังนี้

ทีตั้ง

  • จังหวัดลำพูน ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (สายเอเซีย) เป็นระยะทาง 689 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินสายพหลโยธิน เป็นระยะทาง 724 กิโลเมตร และตามทางรถไฟ 729 กิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 18 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศาตะวันออก อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน อยู่ห่างจากจังหวัดเชียงใหม่เพียง 22 ก.ม. เป็นพื้นที่ ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคเหนือตอนบน และอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง หรือพื้นที่สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจร่วมกับ จังหวัดเชียงใหม่
  • จังหวัดลำพูนเป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดของภาคเหนือมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 4,505.882 ตร.กม. หรือประมาณ 2,815,675 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 4.85 ของพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน บริเวณที่กว้างที่สุดประมาณ 43 กม. และยาวจากเหนือจดใต้ 136 กม.
  • ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดลำพูนตั้งอยู่ในภาคเหนือ ซึ่งตามตำแหน่งที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนที่ค่อนไปทาง เขตอากาศอบอุ่น ในฤดูหนาวจึงมีอากาศเย็นค่อนข้างหนาว แต่เนื่องจากอยู่ลึกเข้าไปใน แผ่นดินห่างไกลจากทะเล จึงมีฤดูแล้งที่ยาวนานและอากาศจะร้อนถึงร้อนจัดในฤดูร้อน จังหวัดลำพูนมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันอย่างเด่นชัด 3 ช่วงฤดู คือช่วงเดือนมีนาคม กับเมษายนมีอากาศร้อน ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม จะมีฝนตกชุกเป็นฤดูฝน และช่วงเดือนพฤศจิกายนถึง เดือนกุมภาพันธ์มีอากาศหนาวเย็นเป็นฤดูหนาว ซึ่งฤดูหนาวและฤดูร้อนนั้น เป็นช่วงฤดูแล้ง ที่มีระยะเวลาติดต่อกันประมาณ 6 เดือน ในช่วงฤดูฝนอีก 6 เดือน นั้น อากาศจะไม่ร้อนเท่ากับ ในฤดูร้อน และไม่หนาวเย็นเท่า ฤดูหนาว คือมีอุณหภูมิปานกลางอยู่ระหว่างสองฤดูดังกล่าว

หน่วยการปกครอง

จังหวัดลำพูนแบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 51 ตำบล 520 หมู่บ้าน ดังนี้

  1. อำเภอเมืองลำพูน
  2. อำเภอแม่ทา
  3. อำเภอบ้านโฮ่ง
  4. อำเภอสิริเพ็น
  5. อำเภอทุ่งหัวช้าง
  6. อำเภอป่าซาง
  7. อำเภอบ้านธิ
  8. อำเภอเวียงหนองล่อง
 
แผนที่อำเภอในจังหวัดลำพูน

ธนภณ ประกอบดี

ประชากรในจังหวัด

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
อำเภอ พ.ศ. 2557[3] พ.ศ. 2556[4] พ.ศ. 2555[5] พ.ศ. 2554[6] พ.ศ. 2553[7] พ.ศ. 2552[8] พ.ศ. 2551[9]
1 เมืองลำพูน 144,730 144,406 143,810 143,280 143,064 142,780 142,682
2 ลี้ 69,393 69,151 68,824 68,291 68,195 67,942 67,714
3 ป่าซาง 55,827 55,983 56,214 56,475 56,853 57,124 57,586
4 บ้านโฮ่ง 40,965 41,170 41,412 41,506 41,705 41,902 42,097
5 แม่ทา 39,306 39,415 39,404 39,511 39,714 39,923 39,966
6 ทุ่งหัวช้าง 20,020 19,899 19,747 19,600 19,522 19,421 19,323
7 เวียงหนองล่อง 17,810 17,830 17,861 17,932 18,126 18,170 18,256
8 บ้านธิ 17,417 17,414 17,401 17,357 17,381 17,431 17,501
รวม 405,468 405,268 404,673 403,952 404,560 404,693 405,125

คิโม่ย

ในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา จังหวัดลำพูน แบ่งเขตการเลือกตั้งเป็น 2 เขต โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 2 คน และสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 1 คน ในส่วนของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด และเทศบาลเมือง ได้แก่

เชื้อชาติพม่า

ภาษายองโงกุนสู้กับฟรีซเซอร์แล้วจับโปเกม่อน คนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากไทลื้อในรัฐฉานประเทศพม่าและสิบสองปันนาประเทศจีน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นแตกต่างจากคำเมืองของภาคเหนือ และประชากรส่วนหนึ่งของจังหวัดลำพูนเป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ปวากะญอ โดยเฉพาะหมู่บ้านพระบาทห้วยต้มหมู่บ้านเดียวมีประชากรของกะเหรี่ยงปวากะญออาศัยพันกว่าหลังคาเรือนและเป็นหมู่บ้านต้นแบบ หมู่บ้านรักษาศีล 5

สถานศึกษาอิอิ

อุดมศึกษา

อาชีวศึกษา

โรงเรียน

สิริเพ็ญตาย

อุทยานแห่งชาติ

วัตนธรรม-ประเพณี

  • งานของดีศรีหริภุญชัย
  • งานประเพณีสงกรานต์
  • งานประเพณีสรงน้ำพระธาตุหริภุญชัย (แปดเป็ง)
  • งานประเพณีสลากภัต และสลากย้อม
  • งานเทศกาลลำไย
  • งานพระนางจามเทวี
  • งานฤดูหนาวและกาชาด
  • งานแต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง อำเภอป่าซาง
  • งานแห่แคร่หลวง ลอยกระทง อำเภอบ้านโฮ่ง
  • งานต้นกำเนิดไม้แกะสลัก และของดีอำเภอแม่ทา

รายพระนามเจ้าผู้ครองนคร

เจ้านายฝ่ายเหนือ

เจ้านายฝ่ายเหนือที่ยังมีชีวิตอยู่

บุคคลที่มีชื่อเสียงของจังหวัดลำพูน

รายนามผู้ว่าราชการจังหวัด

อ้างอิง

  1. ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเนกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑
  5. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/y_stat53.html 2553. สืบค้น 30 มกราคม 2554.
  8. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552."203.113.86.149/stat/y_stat.htmlสืบค้น 30 มีนาคม 2553
  9. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat51.html 2552. สืบค้น 30 มกราคม 2552.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

18°30′N 99°05′E / 18.5°N 99.08°E / 18.5; 99.08