ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน615,483
ผู้ใช้สิทธิ58.30%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ประมาณ อดิเรกสาร ชวลิต ยงใจยุทธ
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 7 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 ลดลง1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วินัย เสนเนียม (8) 79,153
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ บุญญามณี (9)* 74,073
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (7)✔ 61,527
พลังธรรม วิชิต สุพัฒนกุล (6) 44,810
ความหวังใหม่ สุรใจ ศิรินุพงศ์ (1)* 44,414
พลังธรรม พิเชฐ พัฒนโชติ (4) 29,199
พลังธรรม ณรงค์ มุสิกพงศ์ (5) 28,928
ความหวังใหม่ นฤชาติ บุญสุวรรณ (3)✔ 18,201
ความหวังใหม่ พลตำรวจโท วิศิษฎ์ สังคหะพงศ์ (2) 18,058
เอกภาพ อับดุลซอมะ ทุยเลาะ (10) 322
เอกภาพ ส่อแล๊ะ เลาะเส็น (11) 180
เอกภาพ อับดุลคอเด มีศรี (12) 131
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม, กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (7)* 61,975
ประชาธิปัตย์ ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (8) 46,861
พลังธรรม สมพงษ์ สระกวี (1) 29,056
ความหวังใหม่ พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล (5)* 22,497
พลังธรรม บวรรัตน์ สุนทรเจริญนนท์ (2) 19,700
ชาติพัฒนา จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (3)✔ 8,666
ความหวังใหม่ ชูชาติ อินทฤทธิ์ (6) 5,719
ชาติพัฒนา จรัญ สุวรรณะ (4) 3,427
เอกภาพ สะหรี หมานได้เส็น (9) 392
เอกภาพ อับดุลมานัน มีศรี (10) 109
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ (4) 58,571
ประชาธิปัตย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (3)* 54,883
ความหวังใหม่ สะเบต หลีเหร็ม (1)* 31,598
ความหวังใหม่ มนัส อังกาพย์ละออง (2) 12,858
พลังธรรม ธีรยุทธ หงส์บุรินทร์ (7) 10,155
พลังธรรม สนิท ชายะพันธุ์ (8) 8,994
ชาติไทย ประกอบ จินตนา (5) 4,860
ชาติไทย ม่าเลก หมัดอะดัม (6) 2,124
เสรีธรรม ประนม เพ็งทอง (11) 566
เอกภาพ อารงค์ เลาะเส็น (9) 542
เสรีธรรม สุวรรณ จันแก้ว (12) 208
เอกภาพ อับดลรอมาน มิสาและ (10) 134
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536