ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน501,744
ผู้ใช้สิทธิ54.74%
  First party Second party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 4 2
ที่นั่งที่ชนะ 7 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์ และกิ่งอำเภอควนเนียง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรใจ ศิรินุพงศ์ (3) 67,509
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (1)* 44,714
ประชาธิปัตย์ สงบ ทิพย์มณี (2)* 44,427
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) นิกร จำนง (22) 39,468
ประชากรไทย พันตำรวจโท เปรม รุจิเรข (9)* 27,305
ประชากรไทย เปรม เวชประสิทธิ์ (8) 25,323
กิจสังคม เอกวัฒน์ เวชสิทธิ์ (10) 15,806
มวลชน มงคล สุวรรณพิพัฒน์ (4) 7,153
แรงงานประชาธิปไตย ประภาส โรจนพิพัฒน์ (19) 2,793
กิจประชาคม สิบตรี เฉวียง บุญศิริ (15) 2,338
กิจสังคม ภักดิ์ คงเย็น (12) 2,018
ชาติประชาธิปไตย สิบตำรวจโท พิเชษฐ์ แก้วมณีย์ (16) 1,653
กิจประชาคม อนันต์ ชัยสาลี (13) 1,398
ประชากรไทย ลิขิต เหาตะวานิช (7) 1,062
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทวีชัย ศรีชาติ (23) 1,051
แรงงานประชาธิปไตย นริศ มหารงค์ (21) 939
มวลชน นรินทร์ นิธิกุล (5) 748
มวลชน ภิญโญ พงษ์เจริญ (6) 679
ชาติประชาธิปไตย ทรงยศ บุปผะโพธิ์ (17) 667
กิจสังคม จำลอง ศรีบุญแก้ว (11) 666
ชาติประชาธิปไตย ประเสริฐ รัตนวิมล (18) 476
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วัฒนา ลิ้มสุริวงศ์ (24) 452
แรงงานประชาธิปไตย บุญเลิศ แสงวชิระภิบาล (20) 387
กิจประชาคม ไพโรจน์ พวงสอน (14) 314
รักไทย เที่ยงธรรม ด้วงดี (25) 302
รักไทย อนันต์ หนูแท้ (27) 236
รักไทย สมโชค ทองเพ็ง (26) 84
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และ กิ่งอำเภอบางกล่ำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นฤชาติ บุญสุวรรณ (4)* 41,654
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (3)* 30,855
กิจสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (5)* 24,036
กิจประชาคม สงบ บุญเลิศ (12) 8,551
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เกียรติ เจริญวิริยะภาพ (7) 8,393
สหประชาธิปไตย อนันต์ ผ่องสุวรรณ (15) 5,017
กิจสังคม ชำนาญ บุญศรี (6) 4,892
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ดนัย อนันติโย (8) 2,278
ชาติไทย ถาวร ทองโชค (1) 1,265
สหประชาธิปไตย คีรี บุญวรรณโน (16) 988
กิจประชาคม อนันต์ กาญจนสุวรรณ (11) 977
ชาติไทย สุพจน์ ทวีรัตน์ (2) 849
มวลชน บิไล เบ็ญหีม (9) 803
แรงงานประชาธิปไตย สมจิต ตะสัย (14) 486
มวลชน พิมพ์ประไพ เบ็ญหีม (10) 487
แรงงานประชาธิปไตย ครรชิต มุณีแนม (13) 462
รักไทย วันปรี ศรีทองกุล (17) 147
รักไทย ชำนาญ เกื้อช่วย (18) 98
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (1) 37,243
ประชาธิปัตย์ สมนเล๊าะ โปขะรี (2) 23,002
ประชากรไทย สะเบต หลีเหร็ม (11) 19,272
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อนันต์ ทองแก้ว (10) 17,366
กิจสังคม หะยีเจ๊ะหะ มุณี (4) 13,305
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมรรถ สุริยวงศ์ (9) 4,507
ชาติไทย สมพิศ อักษรวงศ์ (6) 4,117
กิจสังคม ประกอบ จินตนา (3) 3,812
ชาติไทย ภูเบศร์ โตเอี่ยม (5) 3,397
กิจประชาคม อุดม โพธิสาโร (15) 2,757
มวลชน เถนิม นิลโมทย์ (7) 2,624
สหประชาธิปไตย จรูญ ขหมิมะ (19) 1,771
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ยิน เจริญสุข (17) 1,666
สหประชาธิปไตย บัญชา ผ่องสุวรรณ (20) 859
กิจประชาคม คติ พงษ์ประยูร (16) 833
ประชากรไทย สุรศักดิ์ สุวรรณเมฆ (12) 731
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประจวบ คงเพชรศรี (18) 536
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สวาท ยามาเจริญ (13) 512
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุจินต์ เลาหวัฒนะ (14) 336
มวลชน ภิญโญ ชัยชาญยุทธ (8) 274
รักไทย อภิธาน สังข์สุวรรณ์ (23) 274
แรงงานประชาธิปไตย หอม ชูมณี (21) 201
รักไทย ไชยยศ ปิ่นแก้ว (24) 182
แรงงานประชาธิปไตย ชิต สาสนุ้ย (22) 181
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530