ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

← พ.ศ. 2512 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2519 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน368,422
ผู้ใช้สิทธิ45.40%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ทวิช กลิ่นประทุม
พรรค ประชาธิปัตย์ ธรรมสังคม ไม่สังกัดพรรค
ที่นั่งก่อนหน้า 1 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Fourth party
 
ผู้นำ ถนอม กิตติขจร
พรรค สหประชาไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สัญญา ธรรมศักดิ์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2518 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2512 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา และ อำเภอระโนด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คล้าย ละอองมณี (5)* 29,834
ประชาธิปัตย์ วิจิตร สุคันธพันธุ์ (6) 29,265
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (7) 22,986
ธรรมสังคม สงบ ทิพย์มณี (1) 22,247
ธรรมสังคม วิโชติ ศานติสุข (2) 17,357
กิจสังคม ประจวบ ชนะภัย (4)* 17,038
ชาติไทย สะเบต หลีเหร็ม (9) 15,266
เกษตรสังคม วิจิตร แจ่มใส (8) 12,322
กิจสังคม อุดม พวงสอน (12) 6,495
ธรรมสังคม จินดา หิรัญสาย (3) 5,925
ประชาชาติไทย ศักดิ์ณรงค์ วิริยะกุล (11) 5,760
แนวร่วมสังคมนิยม ยิน เจริญสุข (17) 4,398
แนวสันติ สวาท มายาเจริญ (18) 4,040
ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2517) อาจินต์ ขัติยวรรณ (16) 3,483
ราษฎร (พ.ศ. 2517) กระจ่าง จันทร์สังข์ (13) 2,614
ชาติไทย ไชย จันทศิริ (15) 2,373
ชาติไทย เจริญ สุวรรณรัตน์ (10) 1,903
สังคมก้าวหน้า พิมาน รัตนประวิตร (19) 1,213
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สหประชาไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สหประชาไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และ อำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (1) 30,483
ธรรมสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (4)* 21,214
ธรรมสังคม เชื้อ ทิพย์มณี (3)* 17,817
ประชาธิปัตย์ อุดม แดงโกเมน (2) 14,516
กิจสังคม กมล โมสิกรัตน์ (7) 3,992
ชาติไทย เหม หมัดอาดัม (5) 3,614
ชาติไทย กิตติ (วิพากย์) สนธิกุล (6) 3,463
กิจสังคม สุนันท์ นิลบางขวาง (9) 1,273
ฟื้นฟูชาติไทย เนื่อง นวลศรี (8) 349
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ธรรมสังคม ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 26 มกราคม 2518. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2518