จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
|
|
8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 733,101 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 63.11% |
---|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสิงหนคร, อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอจะนะ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
วินัย เสนเนียม (2)*
|
153,504
|
84.25
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
นิพนธ์ บุญญามณี (3)*
|
149,909
|
82.28
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
อำนวย สุวรรณคีรี (1)*
|
136,509
|
74.92
|
|
|
ความหวังใหม่
|
วีระ มุสิกพงศ์ (4)✔
|
55,237
|
30.31
|
|
|
ความหวังใหม่
|
เครือเทพ พรหมสุวรรณ (6)
|
7,878
|
0.43
|
|
|
ความหวังใหม่
|
สุชาติ จันทรัตน์ (5)
|
7,586
|
0.41
|
|
บัตรดี
|
182,187
|
97.81
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
813
|
0.44
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,252
|
1.75
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
186,252
|
63.58
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
292,942
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอนาหม่อม, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ถาวร เสนเนียม (3)*
|
162,151
|
93.53
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ไพร พัฒโน (2)
|
161,723
|
93.28
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (1)*
|
157,102
|
90.62
|
|
|
ความหวังใหม่
|
สมพงษ์ สระกวี (4)
|
15,847
|
0.91
|
|
|
ความหวังใหม่
|
จำแลง มงคลนิสภกุล (5)
|
6,260
|
0.36
|
|
|
ความหวังใหม่
|
พิชัย ศรีใส (6)
|
4,754
|
0.27
|
|
|
ประชากรไทย
|
พรทิพย์ บัวชื่น (8)
|
607
|
0.03
|
|
|
ประชากรไทย
|
กฤตพล แก้วประดับเพชร (7)
|
447
|
0.02
|
|
|
ประชากรไทย
|
ประชา รัตนจำนงค์ (9)
|
332
|
0.01
|
|
บัตรดี
|
173,361
|
98.01
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,139
|
0.64
|
–
|
บัตรเสีย
|
2,387
|
1.35
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
176,887
|
61.79
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
286,262
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|